ก. สนุกสนานเบิกบานใจ, เพลิน, เช่น ทุกคนรื่นเริงในวันปีใหม่ โทรทัศน์บางรายการทำให้ผู้ดูรื่นเริง.
น. มหรสพต่าง ๆ, การแสดงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง.
(คฺรื้นคฺรึก) ว. ครึกครื้น, รื่นเริง, สนุกสนาน, เอิกเกริก.
น. เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดัง ทำให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รัก โศก และรื่นเริงได้ตามทำนองเพลง.
การพิธีหรือการรื่นเริงที่คนมาชุมนุมกัน เช่น งานบวช งานปีใหม่.
ก. เหิม, รื่นเริง, เช่น เสียงโห่เอาชัยชมชาญ (สมุทรโฆษ).
ก. ชื่นชมยินดี, รื่นเริง, เช่น พนคณนกหคชมไช (ม. คำหลวง มหาพน).
น. เสียงที่ประกอบกันเป็นทำนองเพลง, เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังทำให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รัก โศก หรือรื่นเริง เป็นต้น ได้ตามทำนองเพลง.
ก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น มีกมลเบิกบานบันเทิงเริงรื่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย (ม. คำหลวง จุลพน).
ว. รุ่งเรือง, สูง, สูงศักดิ์ เช่น รื่นเริงดำเกิงใจยะย้าว (ม. คำหลวง มหาพน).
น. คราวสมัยที่กำหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทำบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท
น. ผืนผ้ารูปสี่เหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม โดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทำด้วยกระดาษและสิ่งอื่น ๆ ก็มี สำหรับ (๑) ใช้เป็นเครื่องหมายบอกชาติ ตำแหน่งในราชการ โดยมีกำหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง. (๒) ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจำนนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย. (๓) ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า และอื่น ๆ. (๔) ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ. (๕) ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริง. (๖) ใช้ถือเข้ากระบวนแห่
น. ความสนุก, ความยินดี, ความรื่นเริง.
(นันทะ-) น. ความสนุก, ความยินดี, ความรื่นเริง.
ว. ใช้ประกอบนามที่อยู่ไกลออกไป เช่น บ้านนู้นมีงานรื่นเริง.
ว. ใช้ประกอบนามที่อยู่ไกลออกไป เช่น บ้านโน้นมีงานรื่นเริง.
ว. บันเทิง, เบิกบาน, รื่นเริง, ยินดี, เช่น อาจให้เลื่องโลกดำเลิง หฤทัยบำเทิง คือทิพยโลกศุลี (อนิรุทธ์).
น. การรื่นเริง, การสนุก, การเล่นตลก.
(ปะหังสะ-) น. การรื่นเริง.
(เปฺรม) ก. สบาย, รื่นเริง, อิ่มใจ.
น. ข้าวปายาสเจือนํ้าผึ้ง ใช้เป็นของหวานในงานรื่นเริง.
(มะหอระสบ) น. การเล่นรื่นเริงมีโขนละครเป็นต้น.
(มัดทะยะ) ว. ซึ่งทำให้เมา, ซึ่งทำให้รื่นเริงยินดี.
(มาทะนะ) น. เครื่องทำให้เมา, เครื่องทำให้รื่นเริง.
ว. ที่ทำให้รื่นเริงหรือบันเทิงใจ เช่น หนังสือเริงรมย์ สถานเริงรมย์.
น. ลูกมะนาวหรือของที่บรรจุเงินปลีกเป็นต้นไว้ข้างในสำหรับโปรยทาน, โดยปริยายเรียกสลากที่ห้อยไว้ตามต้นไม้ให้คนสอยในงานกุศลหรืองานรื่นเริงเป็นต้น.
น. แถบหรือชิ้นกระดาษสีต่าง ๆ ที่ใช้โปรยหรือขว้างปากันในงานรื่นเริงเป็นต้น.
กินร่วมกันเพื่อความรื่นเริงหรือความสามัคคีเป็นต้น เช่น เลี้ยงเพื่อน เลี้ยงรุ่น เลี้ยงสังสรรค์
น. ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทำให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทำคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุก ว่า เขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้.
น. กระดาษม้วนสีต่าง ๆ ทำเป็นแถบเล็กยาว ใช้ตกแต่งสถานที่หรือใช้ขว้างให้คลี่ออกแสดงความรื่นเริง.
ก. รื่นเริง, ร่าเริง, เช่น นวนิยายให้ความสำเริงอารมณ์, มักใช้เข้าคู่กับคำ สำราญ เป็น สำเริงสำราญ หรือ สำราญสำเริง.
(หันสะ-, หันสา) น. ความรื่นเริง, ความยินดี.
(หะสะนะ-) น. การหัวเราะ, ความรื่นเริง.
การรื่นเริง, ใช้เป็นส่วนหน้าของคำสมาส เช่น หัสดนตรี หัสนาฏกรรม หัสนิยาย.
น. วงดนตรีสากลซึ่งบรรเลงในงานรื่นเริง.
น. การหัวเราะ, ความสนุกรื่นเริง.
อ. เสียงที่เปล่งออกมาดังเช่นนั้น เป็นเสียงนำเพื่อแสดงความพร้อมเพรียงในการรื่นเริงหรือการมงคลเป็นต้น.
ก. รื่นเริงยิ่ง, ดีใจยิ่ง, ยินดียิ่ง
น. การรื่นเริง, การทำให้เพลิดเพลิน.
(อุดสะวะ) น. การฉลอง, การรื่นเริง, การเล่นสนุก, มหรสพ.