(พฺลั่ง) ว. อาการที่หลั่งไหลออกมาไม่ขาดสายด้วยกำลังดัน เช่น น้ำเดือดพลั่ง ๆ น้ำไหลพลั่ง ๆ.
(พฺลั้ง) ก. พลาดโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ พลาด เป็น พลั้งพลาด หรือ พลาดพลั้ง.
ก. พูดหรือทำอะไรโดยไม่ระมัดระวังย่อมเกิดความเสียหาย.
(-เผฺลอ) ว. ผิดพลาดเพราะหลงลืมไปชั่วขณะ.
(-พฺลาด) ก. ผิดพลาดไปโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, พลาดพลั้ง ก็ว่า.
(-พฺลั้ง) ก. ผิดพลาดไปโดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทันคิด, พลั้งพลาด ก็ว่า.
(-แหฺย่ง) ว. อาการปีนขึ้นอย่างพลั้ง ๆ พลาด ๆ. (แผลงมาจาก แขย่ง).
ก. ทำหรือพูดกลบเกลื่อนความกระดากอายที่เกิดจากความพลั้งพลาดแล้วถูกจับได้.
อาวุธชนิดหนึ่ง ใช้ในการรบ เช่น ลืมระวังพลั้งเพลี่ยงมันเหวี่ยงขลุบ ถูกอกอุบจุกอัดขัดไม่หาย (อภัย).
ก. กระทำการใด ๆ ตามลำพังตัวคนเดียวโดยไม่พึ่งพาอาศัยผู้อื่น อาจพลั้งพลาดได้.
ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลำถลาก ก็ว่า.
(ถะหฺลำ) ก. ล่วงเข้าไปหรือลงไปโดยพลั้งพลาด เช่น ถลำเข้าไปในแดนข้าศึก ถลำลงคู.
ก. พลั้งพลาดไปจนยากที่จะหลุดพ้นออกมาได้ เช่น เขาถลำตัวเสพยาเสพติดจนถอนตัวไม่ขึ้น.
ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลากถลำ ก็ว่า.
ก. พูดพลั่ง ๆ ออกมา, เบิกความ.
ว. ถลำถลาก, พลั้ง ๆ พลาด ๆ, ไม่ระมัดระวัง.
น. คำที่ใช้ไม้โทแทนไม้เอก ในตำแหน่งของบทร้อยกรองที่บังคับให้ใช้ไม้โท โดยคงเสียงวรรณยุกต์เดิม เช่น หง้าย แทน ง่าย ผลั้ง แทน พลั่ง.
ก. พยุงให้ทรงตัวอยู่ เช่น ประคองตัวเอง, ช่วยพยุงไม่ให้เซไม่ให้ล้มเป็นต้น เช่น ประคองคนเจ็บให้ลุก ประคองคนแก่เดิน, ระมัดระวังไม่ให้หกหรือพลั้งพลาด เช่น ประคองชามแกงให้ดี, โอบรัดเบา ๆ เช่น หนุ่มสาวเดินประคองกันไป
ว. ที่ประสบความผิดหวังหรือพลาดพลั้งอย่างรุนแรงจนหมดกำลัง.
ก. หกล้มไม่มีท่า, พลาดพลั้งอย่างไม่เป็นท่า.
(-พฺล้ำ) ก. พลั้งพลาด, ผิดพลาด, เสียที.
(โยบพะนะมัด) น. ความมัวเมาในความเป็นคนหนุ่มสาว, ความพลาดพลั้งเพราะความมัวเมาในความเป็นหนุ่มสาว.
ก. ดูแลให้ปลอดภัย, ดูแลอย่างรอบคอบไม่ให้พลั้งพลาด, เช่น ระมัดระวังให้ดีเวลาข้ามถนน ระมัดระวังเรื่องสายไฟฟ้ารั่วให้มาก.
น. ผู้เชี่ยวชาญในวิชาใดก็ตามอาจพลาดพลั้งในวิชานั้นได้.
อาการที่ประคองตัวให้ทรงอยู่บนสิ่งที่ล่อแหลมต่อการพลั้งพลาดหรือบางทีอาจเป็นอันตราย เช่น เลี้ยงตัวบนเส้นลวด.
น. เชือกผูกรั้งตรวนเพื่อให้นักโทษเดินสะดวกขึ้น เช่น มือถือสายหยกยกสะเทิน พลั้งเท้าก้าวเกินก็ล้มลง (ขุนช้างขุนแผน).