ว. อาการดิ้นอย่างดิ้นแด่ว ๆ, เด่า หรือ เด่า ๆ ก็ว่า.
ก. ดิ้นแด่ว ๆ เช่น ล้มลงด่าวดิ้นสิ้นกำลัง มอดม้วยชีวังปลดปลง (อิเหนา ศึกกะหมังกุหนิง).
น. แดน เช่น ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย (กาพย์เห่เรือ), ประเทศ เช่น คนต่างด้าว
ด้าน เช่น ด้าวท้าย ว่า ด้านท้าย.
ว. เรียกชาวต่างประเทศที่มีถิ่นฐานอยู่ในอีกประเทศหนึ่งว่า คนต่างด้าว.
ว. อาการที่ดิ้นสั่นรัวไปทั้งตัว, เร่าร้อน.
ก. กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น อย่ายักษ์มลักกรีฑาดล ด้าวอำเภอพลลการกระกัติกามา (สรรพสิทธิ์).
ก. เบ่ง เช่น ระด่าวตึงกระเบงแขน (อนิรุทธ์)
ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, เกรี้ยวกราด ก็ใช้.
ก. กระเสาะ, เสาะ, เช่น เสือกซบสยบสกลลง กำเสาะโศกระด้าวดาล (สุธน).
ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, กราดเกรี้ยว ก็ใช้.
คนสำหรับเขาล้อด่าว่าและติเตียน.
(จะระหฺลาด) น. ตลาด, ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ, เช่น จบจรลาดแลทาง ทั่วด้าว (นิ. นรินทร์), จรหลาดเลขคนหนา ฝ่งงเฝ้า (กำสรวล).
ก. แสดงอาการเป็นปรกติไม่สนใจไยดีต่อสิ่งหรือเหตุการณ์ที่ประสบ เช่น ถูกด่าว่าก็เฉย.
(ชะระ-) ว. รายไป, เรียดไป, โบราณเขียนเป็น ชรดียด ก็มี เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล (ม. คำหลวง กุมาร).
น. น้ำ, ห้วงน้ำ, เช่น ปางเสด็จประเวศด้าว ชลาลัย (กาพย์เห่เรือ), น้ำใจนางเปรียบอย่างชลาลัย ไม่เลือกไหลห้วยหนองคลองละหาน (กากี).
น. ชีวิต เช่น ล้มลงด่าวดิ้นสิ้นกำลัง มอดม้วยชีวังปลดปลง (อิเหนา).
ว. เร่า ๆ, (ใช้แก่กริยาดิ้น), ด่าว ก็ว่า.
ก. นอนแผ่, นอนหงาย, เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล (ม. คำหลวง กุมาร).
(ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย).
(เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา) ก. แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น วันนี้ถูกแม่เทศน์เสียหลายกัณฑ์.
ขับคนต่างด้าวให้ออกไปนอกราชอาณาจักร
(บอริพาด) ก. กล่าวติเตียน, กล่าวโทษ, ด่าว่า.
น. หนังสือประจำตัวของคนต่างด้าวซึ่งนายทะเบียนได้ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว.
(พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน) น. คนที่อยู่ในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม.
ก. ไม่สะทกสะท้าน, ไม่ไยดี, เช่น ใครจะด่าว่าอย่างไร เขาก็ไม่ยี่หระ.
ก. แทงด้วยประตัก (ใช้แก่วัวควาย), โดยปริยายหมายความว่า ทำโทษหรือดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นเพื่อให้หลาบจำ.
ก. ทำร้ายลับหลัง, ด่าว่าหรือกลั่นแกล้งลับหลังให้เสียหาย.
ก. กระทำเอา (มักใช้ในทางไม่ดี เช่นถูกดุด่าว่ากล่าว ทำร้าย เป็นต้น) เช่น ไข้ป่าเล่นงานเสียงอมแงม เจ้านายเล่นงานลูกน้องแต่เช้า ถูกเขาเล่นงานจนอาน.
โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวหรือลงโทษเรียงตัวตั้งแต่หัวแถวจนถึงปลายแถว.
ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้
ก. ดุด่าว่ากล่าวผู้ใดผู้หนึ่งต่อหน้าให้ได้รับความอับอายโดยไม่เกรงใจ.
ก. ด่าว่าข่มขี่, โขกสับ ก็ว่า.
ว. อย่างเจ็บแสบทำให้เสียหายอย่างรุนแรง เช่น ด่าว่าอย่างสาดเสียเทเสีย.
ก. กร่อนไป เช่น เครื่องจักรสึกหรอ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การด่าว่าไม่ทำให้สึกหรออะไร.