(แอดโวเค' เชิน) n. =advocacy, การเรียกให้ปรากฏ, Syn.summoning
(อาซาน') n. การเรียกให้สวดมนต์ (วันละห้าครั้ง) ของชาวมุสลิม
(บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
(บิด'ดิง) n. คำสั่ง, การออกคำสั่ง, การเรียกมา, การเชื้อเชิญ, การประมูลราคา, ราคาที่ประมูล, การเรียกไพ่, Syn.command
ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
(คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn.vocation
ระบบศูนย์กลางหมายถึง วิธีการประมวลผลที่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ผ่านศูนย์กลางจากเครื่องปลายทาง (terminal) การเรียกหาข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะใช้ จะเรียกจากศูนย์กลางทั้งหมดดู terminal ประกอบ
(คะเลค'เชิน) n. การสะสม, การรวบรวม, เงินสะสม, สิ่งที่เก็บรวบรวมไว้, การจัดเก็บ, การเรียกเก็บ, เงินที่เรี่ยไรมา
(คอมพะเล'เชิน) n. การเรียกชื่อ, การเรียกชื่อเสียงเรียงนาม, ชื่อเสียงเรียงนาม
(คอนจฺเร'เชิน) n การอ้อนวอน, การอธิษฐาน, การเรียกผี, เวทมนตร์คาถา, การเล่นกล, Syn.incantation, spell, magic
(คอนวะเค'เชิน) n. การเรียกประชุม, ภาวะที่ถูกเรียกประชุม, กลุ่มคนที่ชุมนุมกันตามคำเรียกตัว, การชุมนุมทางศาสนา, Syn.assemblage, congregation
(ไคร) { cried, crying, cries } vt., vi., n. (การ, เสียง) ร้อง, ร้องเรียก, ร้องขอ, แผดเสียงร้อง, ร้องไห้, หลั่งน้ำตา, การป่าวประกาศ, การเรียกพยานในศาล
ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database
การค้นคืนข้อมูลหมายถึง กระบวนการในการเรียกหา หรือนำข้อมูลที่อยู่ในแฟ้มข้อมูลหรือสื่อเก็บข้อมูล กลับมาแสดงบนจอภาพหรือเครื่องปลายทาง (terminal)
หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี
(ดิฟอลทฺ') v., n. (การ) ไม่ยอมชำระหนี้, ไม่เข้าร่วมแข่ง, แพ้การแข่งขันเนื่องจากไม่มาแข่ง, ไม่ปฏิบัติตามสัญญา, แพ้คดีเพราะไม่ยอมมาศาล, ทางเลือกก่อนเมื่อไร้ทางเลือก, Syn.failure ค่าโดยปริยายค่าเริ่มต้นหมายถึง ค่าค่าหนึ่งที่กำหนดไว้ในโปรแกรมสำเร็จ ทุกโปรแกรม ให้เป็นค่าที่ใช้ในตอนเริ่มต้นโปรแกรม ทุกครั้งที่เรียกโปรแกรมนี้ใช้ คอมพิวเตอร์ก็จะใช้ค่าที่ตั้งไว้นี้ เช่น ในโปรแกรม Page Maker กำหนดค่าเริ่มต้นไว้ว่า ให้ขนาดของหน้าเป็น A4 ทุกครั้งที่มีการเรียกใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ก็จะกำหนดขนาดของหน้ามาเป็น A4 ก่อนเสมอ หากต้องการเปลี่ยนแปลงภายหลัง ก็ย่อมทำได้
(เอนคัม'บรันซฺ) n. สิ่งกีดขวาง, เครื่องถ่วงความเจริญ, ผู้ที่ต้องพึ่งพาคนอื่น , การเรียกร้องสิทธิในทรัพย์ สิน, การติดพัน, Syn.incumbrance
(เอฟวะเค'เชิน) n. การเรียกปลุก, การขอร้อง, การเรียก, การกระตุ้นให้เกิดขึ้น, การนำมาซึ่ง
(อิคแซค'เชิน) n. การบีบบังคับ, การเรียกร้องความต้องการ, สิ่งที่เรียกร้อง
หน่วยความจำภายนอกหมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external storage, secondary memory และ auxiliary storage
หมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external memory, secondary memory และ auxiliary storage
การจัดการแฟ้มข้อมูลหมายถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุงแฟ้ม และการเรียกหาข้อมูลมาใช้จากแฟ้ม
เครื่องบริการแฟ้มในระบบเครือข่าย (network) โดยปกติจะมีคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่ง เรียกว่าเครื่องบริการแฟ้ม ซึ่งจะใช้เป็นที่เก็บ ทั้งโปรแกรม และแฟ้มข้อมูลที่จะใช้ร่วมกันไว้ในฮาร์ดดิสก์ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเดียวกัน สามารถเรียกใช้ โปรแกรมและแฟ้มข้อมูลเหล่านั้นพร้อมกันได้ โดยเรียกจาก เครื่องบริการแฟ้มดังกล่าว เครื่องบริการแฟ้ม นี้จะทำหน้าที่ ดูแลการใช้แฟ้มข้อมูล และการส่งข้อมูลไปให้ตามที่มีผู้ต้องการเรียกมา
การเรียกใช้แฟ้มข้อมูลร่วมกันหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป สามารถเรียกใช้แฟ้มข้อมูลอันเดียวกันได้พร้อม ๆ กัน เช่น ในกรณีที่เป็นระบบเครือข่าย
n. เครื่องพับ, คนพับกระดาษ, ที่เก็บกระดาษเอกสาร กล่องแฟ้มข้อมูลโฟลเดอร์หมายถึง ที่รวมกลุ่มแฟ้มข้อมูล เป็นศัพท์ที่ใช้เฉพาะกับเครื่อง แมคอินทอช (พีซี ใช้ program group) มีสัญรูปเหมือนกล่องมีสีเหลือง อนึ่ง ภายใต้เมนู File จะมีคำสั่งให้สร้างโฟลเดอร์ใหม่ได้ คือ New folder เมื่อใช้ คำสั่งนี้แล้ว จะได้สัญลักษณ์ใหม่มาอีกอันหนึ่ง ข้างล่างจะมีคำว่า "untitled folder" ลากสัญรูปแฟ้มข้อมูลที่ต้องการให้อยู่กลุ่มเดียวกันไปรวมไว้ภายในโฟลเดอร์นี้ เวลาต้องการเรียกใช้ จะช่วยให้หาได้ง่ายและสะดวก ควรจะตั้งชื่อโฟลเดอร์ใหม่นี้เสียด้วย
จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช
ข้อความหลายมิติหมายถึง การเรียกหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ให้แสดงบนจอภาพ ซึ่งอาจมีทั้งข้อความที่ใช้อธิบาย หรือบางทีจะมีภาพประกอบ มีเสียง หรือมีการแสดงการเคลื่อนไหว ฯ ใช้มากในโฮมเพจต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ต ส่วนมาก คำที่จะมีคำอธิบายเช่นนี้ มักจะเป็นคำที่ขีดเส้นใต้ไว้ หรือไม่ก็เป็นตัวดำหนา เมื่อลากเมาส์ไปวางที่คำเหล่านี้ ตัวชี้ตำแหน่งจะเปลี่ยนเป็นนิ้วชี้ ถ้ากดเมาส์ ก็จะมีรายละเอียดมาอธิบายให้ หรือจะโยงไปหารายละเอียดของเรื่องนั้น ๆ
(อิมพอร์ทู' นิที) n. การรบเร้า, การเรียกร้อง, การพร่ำ, การขอร้องอย่างไม่หยุด
โปรแกรมแทรกชุดคำสั่งแทรกหมายถึง ชุดคำสั่งส่วนหนึ่งที่เขียนแทรกไว้ในโปรแกรม ใช้ชื่อที่กำหนดขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อสะดวกในการเรียกใช้ คำสั่งกลุ่มนี้ โดยปกติ จะประกอบด้วยคำสั่งหลายคำสั่ง ที่ผู้ทำโปรแกรมนำมารวมไว้ ชุดคำสั่งแทรกนี้จะต้องกำหนดชื่อคำสั่งไว้ตอนต้นโปรแกรม เมื่อใดก็ตาม ที่มีการเรียกชื่อคำสั่งที่กำหนดนี้ ก็จะเท่ากับเป็นการเรียกใช้กลุ่มคำสั่งที่ประกอบด้วยคำสั่งนี้ทั้งชุด ชุดคำสั่งแทรกนี้ เราสามารถเรียกใช้ได้ตลอดเวลาที่เรียกใช็โปรแกรมนี้อยู่ หรือทุกแห่งที่ต้องการใช้คำสั่งกลุ่มนั้นมีความหมายเหมือน macro instruction, macro program
เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
(อิน'นิง) n. สมัยมีอำนาจ, ตาทำแต้มในการแข่งขัน, โอกาส., See Also:innings ตาลีลูกคริดเก๊ต, การเรียกคืนที่ดินที่เป็นหนองหรือน้ำท่วม
แฟ้มผกผันหมายถึง โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีดรรชนีคอยบ่งบอกถึงที่อยู่ (location) ของระเบียน (record) ที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ หรือระเบียนที่มีลักษณะตามที่กำหนด
(อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
(เจซีแอล) ย่อมาจาก job control language ที่แปลว่า ภาษาควบคุมงาน หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด
ภาษาควบคุมงานใช้ตัวย่อว่า JCL หมายถึง คำสั่งที่จะกำหนดระบบการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยติดต่อผ่านทางระบบปฏิบัติการ (operating system) ว่า จะทำงานต่าง ๆ อย่างไร ใช้รหัสใดเพื่อสื่อสารให้ระบบปฏิบัติการควบคุมการทำงานให้ อาจจะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การเรียกหาแฟ้มข้อมูลบางแฟ้ม รวมทั้งการใช้อุปกรณ์รับข้อมูลหรืออุปกรณ์แสดงผลชนิดใด
รหัสช่วยจำหมายถึง วิธีการเรียกชื่อย่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อช่วยให้นึกถึงชื่อเต็มของสิ่งนั้นได้ดี เช่น อาจจะกำหนดตัวอักษรตัวแรกของคำไว้ใช้เป็นข้อคำสั่ง เช่น การกดแป้น Alt + F + S เป็นรหัสช่วยจำแทนคำสั่งเรียกเมนู File และเลือกคำสั่ง Save ในการเขียนโปรแกรมบางทีก็ใช้วิธีการนี้ได้ เช่น ถ้าคำใดยาว ก็อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น STO แทน store เป็นต้น
แป้นดัดแปรหมายถึง แป้นอักขระบางแป้นที่ไม่ใช้ตามลำพังตัวเอง หรือถ้าใช้ ก็จะไม่มีผลอย่างใดเลย เช่น แป้น Ctrl, Shift, Alt แต่เมื่อกำหนดใช้ร่วมกับแป้นอักขระอื่นแล้ว จะก่อให้เกิดเป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามได้ เช่น ถ้ากดแป้น ALT+F จะเป็นการเรียกเมนู File ในระบบวินโดว์ ส่วนเครื่องแมคอินทอชจะมีแป้น Option ที่ทำหน้าที่คล้ายแป้น ALT เช่น ถ้ากดแป้น Option+C ก็จะเป็นการสั่งคัดลอก (copy)
ซ้อนแทนหมายถึง การแบ่งโปรแกรมขนาดใหญ่ออกเป็นหลาย ๆ โปรแกรม บางทีเรียกส่วนย่อย ๆ นี้ว่า มอดุล (modul) ด้วยเหตุที่ว่าโปรแกรมนั้นมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะบรรจุได้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ จึงต้องมีการจัดแยกคำสั่งบางชุดไว้ต่างหาก จะเรียกมาใช้เมื่อถึงเวลาจำเป็นเท่านั้น โปรแกรมที่แยกไปนี้เรียกว่าโปรแกรมซ้อนแทน การเรียกมาใช้ต้องเรียกผ่านโปรแกรมใหญ่อีกทีหนึ่ง (ให้โปรแกรมใหญ่เป็นผู้เรียกให้) โปรแกรมเหล่านี้จะใช้นามสกุลว่า .OVR ซึ่งก็คงมาจากคำ " overlay " นั้นเอง
(พรีเอมทฺ') vt. ครอบครอง, (ที่ดิน) ก่อน, ได้มาก่อน, ยึดก่อน, บังคับซื้อ, ใช้สิทธิเลือกซื้อก่อน. vi. (ไพ่บริดจ์) เรียกไพ่ก่อน. n. การเรียกไพ่ก่อน., See Also:preemptor, pre-emptor n., Syn.pre-empt, preempt.
(พรีเอมพฺ'เชิน) n. การซื้อก่อน, การใช้สิทธิซื้อก่อน, การครอบครองก่อน, การเรียกไพ่ก่อน., Syn.pre-emption
(พรีเทน'เชิน) n. การเรียกร้อง, การอ้างสิทธิ, ข้ออ้าง, การอวดอ้าง, มารยา
คลังชุดคำสั่งส่วนตัวหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน program library
คลังโปรแกรมหมายถึง ที่เก็บรวบรวมชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งแปลไว้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) แล้ว อาจเรียกใช้ได้ทันที มักเป็นชุดคำสั่งที่มีการเรียกใช้บ่อย ๆ มีความหมายเหมือน private library
จานแรมหมายถึง ส่วนของหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานแบบเข้าถึงโดยสุ่มเหมือนแรม แต่ใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเพื่อให้เรียกมาใช้ได้เหมือนจานบันทึก จานแรมนี้จะทำงานได้เร็วกว่าจานบันทึกธรรมดามาก อย่างไรก็ตาม ข้อเสียก็คือถ้าปิดไฟที่เครื่อง ข้อมูลเหล่านี้จะหายหมด โดยปกติ จะมีการแบ่งจานแรมนี้ ออกมาจากแรมส่วนหนึ่ง เพื่อใช้เก็บแฟ้มที่ต้องการเรียกใช้โปรแกรม สำเร็จสมัยปัจจุบันมักจะมีขนาดใหญ่ และต้องการใช้เนื้อที่ในแรมมาก ทำให้คอมพิวเตอร์ที่มีแรมต่ำเกือบจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป หรือไม่ก็ทำงานช้ามาก อาจจะแก้ไขได้ด้วยวิธีการเพิ่มแรมมีความหมายเหมือน virtual disk ดู RAM ประกอบ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย
(รีไคว'เออะเมินทฺ) n. ความต้องการ, ความประสงค์, การเรียกร้อง, สิ่งที่ต้องการ, สิ่งที่เรียกร้อง, สิ่งจำเป็น, Syn.necessity, requisite
(เรคควิซิช'เชิน) n. การเรียกร้อง, ความต้องการ, คำเรียกร้อง, ปัจจัยที่ต้องการ, ปัจจัยที่จำเป็น, แบบหนังสือเรียกร้อง vt. เรียกร้อง, ต้องการ, See Also:requisitionary adj. requisite ist n. requisitioner n.
(เรฟวะเค'เชิน) n. การเพิกถอน, การยกเลิก, การถอน, การลบล้าง, การเรียกกลับคืน, See Also:revocatory adj., Syn.annulment
n. การขานชื่อ, การเรียกชื่อ, เวลาขานชื่อ
(ซัม'เมินซ) n. การเรียกตัว, การออกหมายเรียก, การขอร้อง, การเรียกร้อง, หมายศาล, หมายเรียก, การเรียกตัวให้มาประชุมรัฐสภา. pl. summonses, Syn.subpoena, call