(ปะ-) น. ประเวศ, ประเวศน์.
(กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค).
น. ทราย เช่น สีคงคาขุ่นเป็นเปือกเทือกกระไส (ม. กาพย์ วนปเวสน์), ประทับทอดจอดอ่าวเข้าไม่ได้ โขดกระไสติดช่องร่องวิถี (นิ. เกาะแก้วกัลกตา).
(กฺรุ่ม) ก. ขันบ่อย ๆ (ปรกติใช้แก่นกเขา แต่ใช้แก่นกอื่นก็มีบ้าง) เช่น บางพวกจับเป็นคู่คูขันกันโดยธรรมดา เวลากรุ่มกำลังที่ตั้งขึ้นตามฤดู (ม. ร. ๔ วนปเวสน์)
(กฺริดสะ-) น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกำหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์)
เจ้าผู้หญิง เช่น อันว่าพระมหาสัตว์แลกษัตรีย์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(กะสิดิ, กะสีดิ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร), อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่าพระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร) (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์).
(กัดตฺระ-) น. ไม้เท้าคนแก่ เช่น แล้วทรงธารพระกรกัตรทัณฑ์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
พุ่ม เช่น จับพฤกษางกูรกัลพุม โดยกุสุมฤดูกาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(-นน) น. ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. กินนร เช่น และเป็นที่เขานิยมว่ามีนกอย่างหนึ่งซึ่งเรียกว่ากิงบุรุษ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
(กินนะริน, กินนะรี) น. กินนรเพศหญิง เช่น ดุจกินรินแน่ง พักตราแพ่งมานุษย์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กินรีแอ่นกินรากร (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(-ริน) น. ช้างสำคัญ เช่น อ้าบัดนี้แม่มาเดอรดิน สีพิกากิรินทไกรอาศน กวยนแก้วราชรจนา (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
กระเช้า เช่น แลมีมือกุกุณีแลขอขุดธงง ก็ท่องยงงไพรกันดาร เอามูลผลาหารในพนาลี (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(-นก) น. มุม, เหลี่ยม, เช่น เปนจดูรโกณก ครรโภทกเพ็ญพยง (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(แคฺรง) ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น อย่างแครงครวญ (กล่อมช้างของเก่า), สงครามแครง ฟ้งเฟือด (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(แคฺรง) ก. ตกแต่ง เช่น ธก็ผลัดแผลงแครงเครื่องอันบริสุทธิ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(-กน) น. บัว, บัวสาย, เช่น อันประดับด้วยอรพินธุเนานึก บุณฑรึกจงกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์)
ว. ฉัน, เช่น, คล้าย, เหมือน, เช่น ทิพฉายฉวงฉินฉัตร ใบชรอัดอรชร (ม. คำหลวง วนประเวสน์).
(ชะคะดี) น. แผ่นดิน เช่น แลเนืองนองด้วยมนุษยชาติ เดียรดาษชคดี (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ชะคัดไตฺร) น. โลก ๓ เช่น ชคัตตรยาพดง ว่า ผู้เป็นยอดของโลก ๓ (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ก. ทะเลาะ เช่น ความชมเลาะกันก็จแรก (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ชอน) น. น้ำ เช่น ชรเซาะเขาเราตกแต่ง (คำฤษฎี), ชรธารา (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ว. แฉะ เช่น มีชลไหลบเอื้อน บเปื้อนแชะชํชล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. “ผู้บังเกิดแต่ตน”, ลูก, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช สองวิสุทธเพาพาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ตฺรม-วน) น. ตำบล เช่น เขาแก้วว่าวงกาจล ตรมวลใดท้าวธบอก (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ตันหักไส) ก. สิ้นตัณหา, หมดตัณหา, เช่น แด่ท้าวผู้ตัณหักษัย (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ทอระเหน) น. ความลำบากในการเดินทางไป เช่น เขาก็บอกความทุกข์ทรเหล แก่ตูผู้บันเดนบันเดอรเทา (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ก. ชวนวิวาท เช่น เพราะเขาว่าท้าทายว่าจะทำอันตรายแก่ท่านไท้บรมนาถราชบิดา (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์)
น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
(นานักคะรด) น. รสเลิศต่าง ๆ เช่น นานัคครสโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
น. อาการนั่ง. (ป.), ในบทกลอนใช้ว่า นิสัชชนาการ ก็มี เช่น จึงเสด็จนิสัชชนาการนั่งในร่มไม้ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(บดทะวาน) น. ชั่วก้าวเท้า, ระยะก้าวเท้า, เช่น ทางเล็ก ควรบทวารผู้หนึ่งจะพึงไป (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
ก. มอบให้ เช่น เป็นบังคลแก่ท่านแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(บับพาด) ก. ขับไล่ เช่น พระสญชัยยินราษฎร์ แกล้งบัพพาชกูไกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. บงสุ์, ฝุ่น, ละออง, ธุลี, (โบ) ใช้ว่า บางษุ ก็มี เช่น มหาบางษุกุลพัษตรจีวรา (นันโท), เมื่อน้นนนางก็ลูบบทบางษุบาท (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(บา-ทบ) น. ต้นไม้ เช่น บรรดาที่เป็นบาทบชักตรลบเอารสวารี (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
(ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ-) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ปฺระดะเหฺยก) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. ปิศาจ เช่น ก็ยังไปศาจผีเสื้อเนื้อแลนก (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
น. เพดาน เช่น ด้วยพิดานดาวทอง (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ก. ชอบ เช่น รุ่งนั้นธก็เสด็จโดยอุตราภิมุข ดำเนอรยุกติยูรยาตร (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
(ละบม) ก. ระบม เช่น นางก็ถวายบังคม ลบมพิลาลศกำสรดไปมา (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ว. เย็น เช่น นํ้าล้นเลียงเอมโอช (ม. คำหลวง วนปเวสน์).