การจัดการลุ่มน้ำ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
กำแพงกันคลื่น[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ลุ่มน้ำแม่น้ำเหลือง (จีน)[TU Subject Heading]
น้ำกร่อย[TU Subject Heading]
ลุ่มน้ำโขง[TU Subject Heading]
น้ำแร่[TU Subject Heading]
ลุ่มน้ำมูล[TU Subject Heading]
ลุ่มน้ำพอง[TU Subject Heading]
น้ำเค็ม[TU Subject Heading]
ลุ่มน้ำสาละวิน[TU Subject Heading]
น่านน้ำ[TU Subject Heading]
การจัดการลุ่มน้ำ[TU Subject Heading]
ลุ่มน้ำ[TU Subject Heading]
การจัดการลุ่มน้ำ, Example:การจัดการพื้นที่ดินให้ได้คุณภาพตามที่ต้อง การเพื่อให้มีปริมาณน้ำไหลอย่างสม่ำเสมอ และมีการควบคุมการชะล้างพังทลายของดิน ลดการเกิดน้ำท่วมและสอดคล้องกับการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ในการจัดการพื้นที่ลุ่มน้ำ (คำว่าพื้นที่ลุ่มน้ำมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่าแอ่งน้ำ (basin)) พื้นที่รับน้ำ (catchment area) หน่วยอุทกวิทยา (hydrological unit) ซึ่งมีสภาพแตกต่างกันไปในแต่ละแห่ง จำเป็นที่จะต้องมีการแบ่งชั้นคุณภาพลุ่มน้ำเพื่อให้สามารถวางแผนการใช้ ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและลดปัญหาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกบ ริเวณลุ้มน้ำ ดดยได้จำแนกชั้นคุณภาพน้ำออกเป็น 5 ชั้น ดังนี้ (1) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำที่ควรจะต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารโดย เฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะและคุณสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยน แปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ไม่ว่าพื้นที่จะมีป่าหรือไม่มีป่าปกคลุมก็ตาม แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ - พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 เอ ซึ่งหมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 ที่ยังคงมีสภาพป่าที่สมบูรณ์ปรากฎอยู่ในปี พ.ศ.2525 ซึ่งจำเป็นต้องสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารและเป็นทรัพยากรป่าไม้ของ ประเทศ - พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 บี ซึ่งหมายถึง พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 ที่สภาพป่าส่วนใหญ่ในพื้นที่ได้ถูกทำลาย ดัดแปลงหรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อนหน้าปี พ.ศ.2525 และการใช้ที่ดินหรือการพัฒนารูปแบบบต่างๆ ที่ดำเนินการไปแล้วจะต้องมีมาตรการควบคุมเป็นพิเศษ (2) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 2 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำซึ่งโดยลักษณะทั่วไปมีคุณภาพเหมาะสมต่อการเป็นต้นน้ำ ลำธารในระดับรองลงมาและสามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อกิจกรรมที่สำคัญ เช่น การทำเหมืองแร่ เป็นต้น (3) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 3 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำดดยทั่วไปสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งกิจกรรมทำไม้ เหมืองแร่ และการปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น (4) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 4 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำซึ่งสภาพป่าได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเป็นที่ใช้ประโยชน์เพื่อ กิจการพืชไร่เป็นส่วนมาก (5) พื้นที่ลุ่มน้ำชั้นที่ 5 หมายถึง พื้นที่ภายในลุ่มน้ำมีลักษณะทั่วไปเป็นที่ราบ หรือลุ่ม หรือเนินลาดเอียงเล็กน้อย และส่วนใหญ่ป่าไม้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเพื่อประโยชน์ด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะทำนาและกิจการอื่นๆ ไปแล้ว[สิ่งแวดล้อม]
ทรัพยากรลุ่มน้ำ, Example:ทรัพยากรหรือสิ่งแวดล้อมที่อยู่ภายในลุ่มน้ำ ทั้งหมด ทั้งเป็น สิ่ง(แวดล้อม)ที่มีชีวิต สิ่ง(แวดล้อม)ไม่มีชีวิต สิ่ง(แวดล้อม)ที่มนุษยสร้างขึ้น ทั้งอาจเป็นสิ่ง(แวดล้อม)ทางชีวกายภาพ (biophysical) และ สิ่ง(แวดล้อม)ทางสังคม หรือสิ่ง(แวดล้อม)ที่เป็นนามธรรม (abstract) สิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ได้แก่ พืช สัตว์ มนุษย์ ดิน หิน น้ำ อากาศ แร่ธาตุ เมือง บ้าน ถนน แม่น้ำ กฎ ระเบียบ วัฒนธรรม ทรัพยากรลุ่มน้ำนั้นมีทุกสิ่งทุกอย่างในธรรมชาติ สามารถแบ่งทรัพยากรเหล่านี้ได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่รู้จักหมดสิ้น และทรัพยากรที่ใช้แล้วสามารถทดแทนได้ [สิ่งแวดล้อม]
บริเวณลุ่มน้ำ, Example:1) ดู drainage basin 2) ในประเทศอังกฤษ หมายถึง สันปันน้ำ (watershed line) [สิ่งแวดล้อม]
ลุ่มน้ำ, Example:พื้นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน้ำ เป็นพื้นที่รับน้ำฝนทั้งหมดของแม่น้ำสายใดสายหนึ่ง [สิ่งแวดล้อม]
สันปันน้ำ แนวสันเขาซึ่งโดยปกติเป็นส่วนที่สูงที่สุดของภูเขาที่แบ่งน้ำให้ตกออกสอง ข้างของภูเขานั้น ๆ เป็นลักษณะทางธรรมชาติซึ่งรัฐที่เกี่ยวข้องอาจพิจารณานำมาใช้เป็นเส้นเขตแดน ระหว่างประเทศได้ เช่น สันปันน้ำของเทือกเขาตะนาวศรีเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับพม่า[การทูต]
พื้นที่รับน้ำ[อุตุนิยมวิทยา]
watershed management, การจัดการลุ่มน้ำ[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
watershed, บริเวณลุ่มน้ำ, พื้นที่รับน้ำ[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
waterstop, วัสดุกันน้ำ[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
watershed, สันปันน้ำ[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]