91 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*parliamentary*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: parliamentary, -parliamentary-
ค้นหาอัตโนมัติโดยใช้parliamentary
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(adj)เกี่ยวกับรัฐสภาSyn.governmental, administrative
(adj)ซึ่งขัดแย้งกับระเบียบการของรัฐสภา
Hope Dictionary
(พาร์ละเมน'ทะรี) adj. เกี่ยวกับรัฐสภา
n. ขบวนรถไฟที่คิดค่าโดยสารถูก
(อันพาร์ละเมน'ทะรี) adj. ขัดกับวิธีการหรือระเบียบของรัฐสภา.
Nontri Dictionary
(adj)เกี่ยวกับรัฐสภา, ของรัฐสภา, ซึ่งมีรัฐสภา
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
วิธีดำเนินการทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กระทู้ถามทางสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง (อังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระบบรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การควบคุมโดยรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ที่ปรึกษาฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปกครองระบบรัฐสภา [ ดู cabinet government ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎข้อบังคับของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอกสารของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เอกสิทธิ์ทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอกสิทธิ์ของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิธีดำเนินการทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่ปรึกษาฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปกครองระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปกครองระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สหภาพรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สหภาพรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
องค์การรัฐสภาอาเซียน[TU Subject Heading]
กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ[TU Subject Heading]
องค์การรัฐสภาอาเซียน " เป็นเวทีการประชุมของผู้แทนรัฐสภาของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดขึ้น เป็นประจำทุกปี "[การทูต]
การประชุมสภาเอเชีย-ยุโรป[การทูต]
สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยูที่นครเจนิวา ประเทศวิตเวอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 153 ประเทศ และ 8 กลุ่มสมาชิกสมทบ (กันยายน 2552)[การทูต]
สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 140 ประเทศ (ตุลาคม 2547)[การทูต]
การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
จนกระทั่งถึงยุคทิวดอร์ในอังกฤษ เราเริ่มเห็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งเกิดขึ้น นั่นคือการล้อมเขตที่ดินสาธารณะThe Corporation (2003)
ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kīokap ratthasaphā] (adj) EN: parliamentary  FR: parlementaire
[rabop ratthasaphā] (n, exp) EN: parliamentary system  FR: régime parlementaire [ m ]
WordNet (3.0)
(adj)relating to or having the nature of a parliament
(adj)having the supreme legislative power resting with a body of cabinet ministers chosen from and responsible to the legislature or parliament
(adj)in accord with rules and customs of a legislative or deliberative assembly
(n)a person who is employed to look after the affairs of businesses that are affected by legislation of the British Parliament
(n)a democracy having a parliament
(n)a monarchy having a parliament
(adj)so rude and abusive as to be unsuitable for parliament
(n)a body of rules followed by an assemblySyn.rules of order, parliamentary procedure, parliamentary law
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

a. [ Cf. F. parlementaire. ] [ 1913 Webster ]

1. Of or pertaining to Parliament; as, parliamentary authority. Bacon. [ 1913 Webster ]

2. Enacted or done by Parliament; as, a parliamentary act. Sir M. Hale. [ 1913 Webster ]

3. According to the rules and usages of Parliament or of deliberative bodies; as, a parliamentary motion; parliamentary order; parliamentary procedure. [ 1913 Webster +PJC ]


Parliamentary agent, a person, usually a solicitor, professionally employed by private parties to explain and recommend claims, bills, etc., under consideration of Parliament. [ Eng. ] --
Parliamentary train, one of the trains which, by act of Parliament, railway companies are required to run for the conveyance of third-class passengers at a reduced rate. [ Eng. ]
[ 1913 Webster ]

a. Not parliamentary; contrary to the practice of parliamentary bodies. -- Un*par`lia*men"ta*ri*ness n. [1913 Webster]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[ , xí wèi, ㄒㄧˊ ㄨㄟˋ]a seat (in a theater, stadium etc); parliamentary or congressional seat#9214[Add to Longdo]
[   /   , yì huì zhì, ㄧˋ ㄏㄨㄟˋ ㄓˋ]parliamentary system#85822[Add to Longdo]
[     /     , bù xìn rèn dòng yì, ㄅㄨˋ ㄒㄧㄣˋ ㄖㄣˋ ㄉㄨㄥˋ ㄧˋ]motion of no confidence (against the government, in parliamentary debates)[Add to Longdo]
DING DE-EN Dictionary
Bundestagswahl { f }
parliamentary elections (for the Bundestag)[Add to Longdo]
Diäten { pl } (für Abgeordnete)
parliamentary allowance[Add to Longdo]
Fraktion { f } (Parlament)
parliamentary party[Add to Longdo]
Gesetzesvorhaben { n } [ pol. ]
parliamentary bill; draft law[Add to Longdo]
parlamentarisch
parliamentary[Add to Longdo]
unparlamentarisch
unparliamentary[Add to Longdo]
APO : Außerparlamentarische Opposition
extraparliamentary opposition[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[ぎせき, giseki](n) parliamentary seat; (P)#4488[Add to Longdo]
[せいむじかん, seimujikan](n) parliamentary vice-minister; (P)#18106[Add to Longdo]
[いんがい, ingai](n, adj-no) non-parliamentary; outside congress[Add to Longdo]
[いんがいだん, ingaidan](n) nonparliamentary party association[Add to Longdo]
[ぎいんとっけん, giintokken](n) parliamentary privilege[Add to Longdo]
[ぎいんないかくせい, giinnaikakusei](n) parliamentary system of government[Add to Longdo]
[ぎかいせいみんしゅしゅぎ, gikaiseiminshushugi](n) parliamentary democracy[Add to Longdo]
[ぎかいせいじ, gikaiseiji](n) parliamentarism; parliamentary government[Add to Longdo]
[ぎかいせんきょ, gikaisenkyo](n) parliamentary election[Add to Longdo]
[ごうぎせい, gougisei](n) parliamentary system[Add to Longdo]
[ごうぎせいど, gougiseido](n) parliamentary system[Add to Longdo]
[こくせいちょうさけん, kokuseichousaken](n) parliamentary investigation rights[Add to Longdo]
[さんせいかん, sanseikan](n) parliamentary under-secretary[Add to Longdo]
[さんよかん, sanyokan](n) parliamentary councillor; parliamentary councilor[Add to Longdo]
[せいりょくぶんや, seiryokubunya](n) the respective (relative) strength of political parties; distribution of the number of parliamentary seats held by each of the political parties[Add to Longdo]
[せいむかん, seimukan](n) parliamentary official[Add to Longdo]
[ぜったいあんていたすう, zettaianteitasuu](n) overwhelming majority (number of parliamentary seats required in order for the ruling coalition to chair all standing committees and pass bills without the support of other parties)[Add to Longdo]
[だいぎせいど, daigiseido](n) parliamentary system[Add to Longdo]
[ないかくふしんにんあん, naikakufushinnin'an](n) parliamentary motion of non-confidence against the cabinet[Add to Longdo]
[ふたいほとっけん, futaihotokken](n) immunity from arrest (i.e. of Diet members or foreign diplomats); diplomatic immunity; parliamentary immunity; legislative immunity[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ