premium
229 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*biblio*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: biblio, -biblio-
ค้นหาอัตโนมัติโดยใช้bibliog
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(prf)หนังสือ
(n)คนรักหรือสะสมหนังสือ
Hope Dictionary
(บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม
(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่องSee Also:bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม
(บิบ'ลีอะฟิล, -ไฟล์) n. ผู้ชอบหนังสือ, ผู้ชอบสะสมหนังสือSee Also:bibliophilist, bibliophilism n. bibliophilistic adj. ชอบหนังสือ bibliophilic adj. ชอบหนังสือSyn.book lover
Nontri Dictionary
(n)บรรณารักษ์
(n)บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง
(n)ผู้สะสมหนังสือ
(n)คนขายหนังสือ
(n)ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
บรรณนิทัศน์[เทคโนโลยีการศึกษา]
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณานุกรม[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์[เทคโนโลยีการศึกษา]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณนิทัศน์[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่งExample:เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์Example:<p>บรรณานุกรม (Bibliographic) หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นการให้เครดิตแก่เจ้าของผลงาน และป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ <p>การค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ตัวอย่างเช่น การสืบค้นข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดหาเข้ามา หรือ รายการเข้าถึงแบบออนไลน์ (Online Public Access Catalog : OPAC) ข้อมูลบรรณานุกรมที่แสดง คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากนี้การสืบค้นทางบรรณานุกรมแบบออนไลน์ ยังรวมถึงการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ประเภทฐานข้อมูลบรรณานุกรม ที่แสดงผลเฉพาะข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ฐานข้อมูล ISI : Web of Science หรือ ฐานข้อมูล Scopus เป็นต้น[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมExample:หรือ เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อทรัพยากรสารสนเทศ (หนังสือ บทความจากวารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลออนไลน์ ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ) ที่ผู้เขียนใช้ประกอบการเขียนหนังสือเล่มนั้น หรืออาจเป็นรายชื่อที่ผู้เขียนแนะนำให้อ่านเพิ่มเติม อาจอยู่ท้ายเล่มหรือท้ายบทแต่ละบทก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การควบคุมทางบรรณานุกรมExample:<p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายละเอียดทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมของบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอ้างถึงบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บริการจัดทำบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดัชนีวรรณกรรม, ดรรชนีวรรณกรรมExample:<p>Bibliometrics คือการศึกษาหรือวิธีการวัด (Measure) สารสนเทศ หรือข้อความชุดหนึ่ง มีพัฒนาการมายาวนานกว่า 40 ปี นับเป็นเครื่องมือมาตรฐานในการประเมินงานวิจัย จัดอยู่ในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้มากมาย <p>การใช้วิธีการ Bibliometrics เพื่อค้นหาผลกระทบ (Impact) ในทุกระดับ คือ ระดับบทความ (Paper) ระดับสาขาวิชา (Field) ระดับนักวิจัย (Researcher) ระดับสถาบัน (Institutes / Affiliations ) และระดับประเทศ (Country ) <p>วิธีการของ Bibliometrics มีการนำไปใช้เพื่อตรวจสอบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการอ้างอิงของวารสารวิชาการ ข้อมูลการอ้างอิงถือว่ามีความสำคัญ ดัชนีการอ้างอิงที่ผลิตโดยบริษัท Thomson Reuters ในฐานข้อมูล Web of Science และ Elsevier B.V. ในฐานข้อมูล Scopus ผู้สืบค้นสามารถค้นบทความที่อ้างอิงกันไปมาได้ ดัชนีการอ้างอิงสามารถสื่อถึงความเป็นที่นิยม มีผลกระทบต่อบทความ ผู้แต่ง และวารสาร <p>Bibliometrics เป็น Truly Interdisciplinary Research มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ศึกษา 3 กลุ่ม คือ <p>1 .Bibliometrics for Bibliometricians (Methodology เน้นหาวิธีการ เทคนิคต่าง ๆ) <p>2. Bibliometrics for scientific disciplines (Scientific information) เป็นกลุ่มที่มีความสนใจกว้างขวางมากที่สุด <p>3. Bibliometrics for Sciences Policy & Management (ศึกษาในระดับชาติ ภูมิภาค สถาบัน ด้วยการแสดงแบบเปรียบเทียบหรือพรรณา) <p>การประยุกต์ดัชนี Bibliometrics แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. เชิงปริมาณ (Quantitative) <p>- จำนวนบทความ (No. of Publications) ตามรายปี สถาบัน ประเทศ สาขาวิชา เป็นต้น <p>- จำนวนการได้รับการอ้างอิง (No. of Citations : Citing, Cited) <p>- จำนวนที่มีผู้เขียนร่วม (No. Co-Authors) <p>- จำนวนสิทธิบัตร (No. Patents) การยื่นขอจดสิทธิบัตรจากพลเมืองตนเองหรือต่างชาติ <p>2. เชิงความสัมพันธ์ (Relation) <p>- ดัชนีผลงานตีพิมพ์ร่วมกัน (ความเป็นนานาชาติ) <p>- ดัชนีเชื่อมโยงจากบทความอ้างอิง (หาคำตอบประเทศใดอ้างอิงถึงประเทศใดบ้าง) <p>- ดัชนีสัมพันธ์บทความวิชาการกับสิทธิบัตร <p>- ดัชนีอ้างอิงบทความร่วมกัน (วัดหาการอ้างอิงถึงบทความ 2 บทความ ในบทความเดียวกัน) <p>บรรณานุกรม <p>รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่. ความรู้พื้นฐาน Bibliometrics ประวัติ พัฒนาการ & การประยุกต์. 2551. Available at : http://www.slideshare.net/nstda/bibliometrics. Accessed August 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเชิงพรรณนา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเชิงพรรณนา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ที่มีพิมพ์เผยแพร่นานแล้ว[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเลือกสรร[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมที่สำนักพิมพ์หรือร้านหนังสือจัดทำขึ้นเพื่อการ ค้า, บรรณานุกรมเพื่อการค้า[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การควบคุมทางบรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมสากล[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การค้นทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมหัวข้อวิชาใดหัวข้อวิชาหนึ่งExample:<p>บรรณานุกรม (Bibliography) เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทหนึ่ง ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งข้อมูล รายชื่อหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ทั้งในรูปแบบของสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสืออ้างอิงประเภทที่บอกให้ทราบว่าจะค้นหาสารสนเทศได้จากแหล่งใด <p>ลักษณะของบรรณานุกรม ในหนึ่งรายการ ส่วนใหญ่ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ราคา หรืออาจมีคำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อประกอบด้วย <p>ความสำคัญของบรรณานุกรม คือ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าหาสารสนเทศประกอบการศึกษา วิจัย ได้อย่างรวดเร็วและครบถ้วน เป็นเครื่องมือติดตามความเคลื่อนไหวของทรัพยากรสารสนเทศ และเป็นคู่มือในการจัดหาและช่วยในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ <p>บรรณานุกรม มีหลายประเภท เช่น บรรณานุกรมทั่วไป บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมเฉพาะวิชา <p>บรรณานุกรมเฉพาะวิชา (Special bibliography) เป็นบรรณานุกรมที่รวบรวมรายชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง อาจมีบทคัดย่อประกอบ ตัวอย่างเช่น บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ <p>ในอีกความหมายหนึ่ง บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ เและเป็นการให้ความเคารพผลงานทางปัญญาที่ผู้อื่นได้แสดงไว้ รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านที่สนใจติดตามและศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมเฉพาะวิชา[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การทำเหมืองข้อมูลบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โรคกลัวหนังสือ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การรักษาด้วยหนังสือ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
รูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การอ้างถึงทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บริการทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรมของบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
บรรณานุกรมแห่งชาติ[TU Subject Heading]
การควบคุมทางบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
สหบรรณานุกรม[TU Subject Heading]
ดัชนีวรรณกรรม[TU Subject Heading]
การรักษาด้วยหนังสือ[TU Subject Heading]
ข้อมูลทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้[TU Subject Heading]
การสืบค้นข้อมูลบรรณานุกรมแบบออนไลน์[TU Subject Heading]
บรรณานุกรมแห่งชาติExample:หมายถึง บรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ขึ้นในประเทศใดประเทศหนึ่ง รวมทั้งบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับประเทศใดประเทศหนึ่ง ไม่ว่าสิ่งพิมพ์นั้นจะตีพิมพ์ในประเทศใด แต่เนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตหรือสื่อสำหรับบันทึกความรู้ก้าวหน้าไปมาก ขอบเขตของการรวบรวมสิ่งพิมพ์ในบรรณานุกรมแห่งชาติขยายขอบเขตของสื่อบันทึกความรู้ออกตามไปด้วย <p>การจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ เป็นหน้าที่หนึ่งของหอสมุดแห่งชาติแต่ละประเทศ การจัดหาสิ่งพิมพ์หรือวัสดุเพื่อนำมาจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ ทำได้โดย <p>1. การขอความร่วมมือจากสำนักพิมพ์ในการส่งสิ่งพิมพ์หรือสื่ออื่นๆ มาให้ แต่เนื่องจากสิ่งพิมพ์อาจจะมีการผลิตโดยมิได้ผ่านสำนักพิมพ์ อาจจะเป็นกระบวนการที่ทำให้หอสมุดแห่งชาติไม่สามารถรวบรวมสิ่งพิมพ์ในส่วนนี้ได้ หอสมุดแห่งชาติต้องมีการติดตามสิ่งพิมพ์หรือวัสดุอื่นๆ อย่างใกล้ชิด <p>2. จัดหาตัวแทนให้ทำหน้าที่รวบรวมหนังสือและวัสดุที่ออกใหม่โดยสำนักพิมพ์ทั้งหมดในประเทศและที่ออกโดยส่วนราชการและโดยเอกชน <p>3. ออกกฎหมายกำหนดให้สำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์หรือผู้ผลิตส่งสิ่งพิมพ์หรือวัสดุอื่นๆ มาให้หอสมุดแห่งชาติเพื่อจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ <p>หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน เป็นตัวอย่างของหอสมุดแห่งชาติในการรวบรวมสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา และจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยพระราชบัญญัติการพิมพ์ (United States Copyright Office) ที่จะต้องส่งสิ่งพิมพ์อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับให้กับหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ส่งผลให้กลายเป็นห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วยการจัดเก็บหนังสือที่ผลิตใน ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ถึงจำนวน 126 ล้านรายการ [ 1 ] และด้วยระบบการจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ที่มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์ จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูล ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ อย่างครบถ้วน <p>หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ ด้วยกรอบของวิธีการ 2 แนวทาง [ 2 ] กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของ ประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p>ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ (The British Library) [ 3, 4 ]ทำหน้าที่ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศที่ผลิตในสหราชอาณาจักรและสาธารณ รัฐไอแลนด์ และจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ โดยสำนักพิมพ์ในสหราชอาณาจักรและสาธารณรัฐไอแลนด์จะต้องส่งสิ่งพิมพ์แก่ The Legal Deposit Office ของ หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (Copyright acts) โดยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2493 สำหรับสื่อตีพิมพ์ และ ปี พ.ศ. 2546 สำหรับสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ “The Legal Deposit Libraries Shared Cataloging Programme : LDLSCP” ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันในการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ และการแบ่งปันข้อมูลระหว่างห้องสมุด เฉพาะเดือน เม.ย. พ.ศ. 2546 ถึง เดือน มี.ค. พ.ศ. 2547 ทำให้มีจำนวนข้อมูลบรรณานุกรม 87, 764 รายการ โดยเฉลี่ยแต่ละปีมีจำนวนรายการข้อมูลเพิ่มขึ้น 50, 000 รายการ <p>ขณะที่ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ [ 5 ]ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูป แบบของ Alert servicees จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบ ถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p>หอสมุดแห่งชาติของไทย เริ่มจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 โดยร่วมกับสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และสามารถรวบรวมบรรณานุกรมแห่งชาติเป็นรูปเล่มเพียงเล่มเดียวสำหรับ พ.ศ. 2502 งานจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติประสบอุปสรรค เนื่องจากจุดอ่อนของพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2474 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2485 มีการกำหนดให้ผู้พิมพ์ผู้โฆษณาส่งสิ่งพิมพ์ให้แก่หอสมุดแห่งชาติจำนวน 2 ฉบับ ภายใน 7 วันนับแต่มีการพิมพ์ ผู้ฝ่าฝืนถูกปรับไม่เกิน 12 บาท แต่ไม่มีผลบังคับใช้กับหน่วยงานราชการที่ผลิตสิ่งพิมพ์ หอสมุดแห่งชาติได้รับสิ่งพิมพ์ของหน่วยราชการไว้ไม่ถึงครึ่ง และผู้พิมพ์จำหน่ายพอใจที่จะถูกปรับมากกว่าจะส่งให้แก่หอสมุดแห่งชาติ <p>หอสมุดแห่งชาติได้เริ่มกลับมาดำเนินงานจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติอย่างจริงจัง อีกครั้ง ด้วยความช่วยเหลือขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติได้ ส่งผู้เชี่ยวชาญมาแนะนำ [ 6 ] ได้แก่ เสนอให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสำหรับกำหนดเลขประจำหนังสือตามมาตรฐานสากล (International Standard Book Number - ISBN) ด้วยความร่วมมือกับสมาคมผู้จัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือ ส่งเสริมให้มีการบันทึกข้อมูลแบบ MARC เป็นต้น <p>รายการบรรณานุกรมแห่งชาติของไทย http://www.nlt.go.th/th_tnb.htm <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p>[ 2 ] Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p>[ 3 ] Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p>[ 4 ]Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p>[ 5 ]The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. <p>[ 6 ] สุนทรี หังสสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การบำบัดด้วยหนังสือ , บรรณบำบัดExample:Bibliotherapy หมายถึง การบำบัดด้วยหนังสือ หรือ บรรณบำบัด เป็นการใช้หนังสือในการบำบัดสภาพจิตใจของผู้ป่วย เพื่อให้หนังสือเป็นสื่อในการเสริมสร้างจินตนาการ ความคิด ของผู้ป่วยที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากความเจ็บป่วย การบำบัดด้วยหนังสือ เป็นการรักษาทางจิตวิทยาที่นำเอาหนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ ที่เหมาะสมเข้ามาใช้ในการรักษา เป้าหมายของการบำบัดด้วยหนังสือ เพื่อทำให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้ป่วยต้องการการรักษาให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยที่หนังสือหรือเอกสารต่าง ๆ อาจให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับความผิดปรกติของผู้ป่วย หรือเพื่อให้ผู้ป่วยเพิ่มการยอมรับเกี่ยวกับการรักษาที่นำเสนอมากขึ้น ทั้งนี้การบำบัดด้วยหนังสือถูกนำมาใช้ในสถานที่ต่าง ๆ ที่มีปัญหาทางจิตวิทยา มีรายงานว่าแพทย์ประสบความสำเร็จกับการใช้วิธีการบำบัดด้วยหนังสือ ในการรักษาความผิดปกติเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โรควิตกกังวลและความผิดปรกติทางอารมณ์ โรคกลัวอยู่ในที่โล่ง (Agoraphobia) การใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติดในทางที่ผิด และความเครียดที่เกี่ยวข้องกับความผิดปรกติทางร่างกาย อย่างไรก็ตาม การบำบัดด้วยหนังสืออาจไม่เป็นประโยชน์กับผู้ป่วยที่ทนทุกข์ทรมานจากความผิดปกติของความคิด โรคจิต ความสามารถทางสติปัญญาที่จำกัด ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้ (Dyslexia) หรือการต่อต้านการรักษา และผู้ป่วยบางคนที่ใช้การบำบัดด้วยหนังสือเป็นรูปแบบของการรักษาด้วยตนเองมากกว่าที่จะแสวงหาความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ ในปัจจุบันมีหลายหน่วยงานที่นำวิธีการบำบัดด้วยหนังสือมาใช้ในการรักษาและดูแลสุขภาพจิตให้กับบุคคลกลุ่มต่างๆ เช่นผู้ต้องขังตามทัณฑสถานต่างๆ เด็กพิการ เด็กกำพร้า ผู้ติดยาเสพติด เป็นต้น[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรม[การแพทย์]
บรรณานุกรมพร้อมทั้งบรรณนิทัศน์สังเขป[การแพทย์]
บรรณานุกรมเชิงพรรณา;บรรณานุกรม, การลงรายการ[การแพทย์]
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)bibliographyExample:ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่มThai Definition:เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
[bannārak] (n) EN: librarian  FR: bibliothécaire [ m, f ]
[chan nangseū] (n) EN: bookcase  FR: bibliothèque [ f ] (meuble) ; tablette [ f ]
[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography
[hǿng nangseū] (n) EN: study room  FR: bureau [ m ] ; bibliothèque [ f ]
[hǿngsamut] (n) EN: library ; study  FR: bibliothèque [ f ]
[hǿngsamut khleūoenthī] (n, exp) EN: mobile library  FR: bibliothèque mobile [ f ] ; bibliothèque itinérante [ f ]
[hǿngsamut sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual library  FR: bibliothèque virtuelle [ f ]
[Hø Phra Samut Haengchāt] (org) EN: National Library (in Bangkok)  FR: Bibliothèque nationale (de Thaïlande) [ f ]
[høsamut] (n) EN: library   FR: bibliothèque [ f ]
[høsamut haengchāt] (n, exp) EN: National Library  FR: bibliothèque nationale [ f ]
[khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ]
[nøn nangseū] (n, exp) EN: bookworm  FR: rat de bibliothèque [ m ] (fam.) ; dévoreur de livres [ m ]
[tū nangseū] (n) EN: bookcase  FR: bibliothèque [ f ]
[yeūm nangseū jāk hǿngsamut] (v, exp) EN: borrow a book from the library  FR: emprunter un livre à la bibliothèque
WordNet (3.0)
(n)someone trained in compiling bibliographies
(adj)relating to or dealing with bibliographySyn.bibliographical
(n)a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.)
(adj)given to Bible-worship
(n)the worship of the BibleSyn.Bible-worship
(n)preoccupation with the acquisition and possession of books
(adj)characteristic of or characterized by or noted for bibliomania
(n)someone who loves (and usually collects) booksSyn.book lover, booklover
(adj)of or relating to bibliophiles
(n)a dealer in secondhand books (especially rare or curious books)Syn.bibliopolist
(adj)of or relating to bibliopoles
(n)a collection of books
(adj)of or relating to a library or bibliotheca or a librarianSyn.bibliothecarial
(adj)of or relating to bibliotics
(n)the scientific study of documents and handwriting etc. especially to determine authorship or authenticity
(n)someone who engages in bibliotics
(n)a professional person trained in library science and engaged in library servicesSyn.bibliothec
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

n. Bibliographer. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_;, fr. &unr_; book + &unr_; to write : cf. F. bibliographe. ] One who writes, or is versed in, bibliography. [ 1913 Webster ]

{ } a. [ Cf. F. bibliographique. ] Pertaining to bibliography, or the history of books. -- Bib`li*o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

pos>n.; pl. Bibliographies [ Gr. bibliografi`a: cf. F. bibliographie. ] 1. a history or description of books and manuscripts, with notices of the different editions, the times when they were printed, etc. [ 1913 Webster ]

2. a list of books or other printed works having some common theme, such as topic, period, author, or publisher. [ PJC ]

3. a list of the published (and sometimes unpublished) sources of information referred to in a scholarly discourse or other text, or used as reference materials for its preparation. [ PJC ]

4. the branch of library science dealing with the history and classification of books and other published materials. [ PJC ]

{ } n. [ See. Bibliolatry. ] A worshiper of books; especially, a worshiper of the Bible; a believer in its verbal inspiration. De Quincey. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. bibli`on book + latrei`a service, worship, latrey`ein to serve. ] Book worship, esp. of the Bible; -- applied by Roman Catholic divines to the exaltation of the authority of the Bible over that of the pope or the church, and by Protestants to an excessive regard to the letter of the Scriptures. Coleridge. F. W. Newman. [ 1913 Webster ]

a. Relating to bibliology. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; book + -logy. ] [ 1913 Webster ]

1. An account of books; book lore; bibliography. [ 1913 Webster ]

2. The literature or doctrine of the Bible. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; book + -mancy: cf. F. bibliomancie. ] A kind of divination, performed by selecting passages of Scripture at hazard, and drawing from them indications concerning future events. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; madness: cf. F. bibliomanie. ] A mania for acquiring books. [ 1913 Webster ]

n. One who has a mania for books. -- a. Relating to a bibliomaniac. [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to a passion for books; relating to a bibliomaniac. [ 1913 Webster ]

a. [ Gr. bibli`on book + phgny`naito make fast. ] Relating to the binding of books. [ R. ] [ 1913 Webster ]

n. A bookbinder. [ 1913 Webster ]

a. Pertaining to the art of binding books. [ R. ] Dibdin. [ 1913 Webster ]

n. [ See Bibliopegic. ] The art of binding books. [ R. ] [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; to love: cf. F. bibliophile. ] A lover of books. [ 1913 Webster ]

n. Love of books. [ 1913 Webster ]

n. A lover of books. [ 1913 Webster ]

n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; to fear. ] A dread of books. [ R. ] [ 1913 Webster ]

{ } a. [ See Bibliopole. ] Of or pertaining to the sale of books. “Bibliopolic difficulties.” Carlyle. [ 1913 Webster ]

n. [ L. bibliopola, Gr. &unr_;; &unr_; book + &unr_; to sell: cf. F. bibliopole. ] One who sells books. [ 1913 Webster ]

n. The trade or business of selling books. [ 1913 Webster ]

n. Same as Bibliopole. [ 1913 Webster ]

a. Of or pertaining to bibliopolism. Dibdin. [ 1913 Webster ]

{ } n. [ Gr. &unr_; book + &unr_; a burial. ] One who hides away books, as in a tomb. [ R. ] Crabb. [ 1913 Webster ]

n. A librarian. [ 1913 Webster ]

‖n. [ L. See Bibliotheke. ] A library. [ 1913 Webster ]

a. [ L. bibliothecalis. See Bibliotheke. ] Belonging to a library. Byrom. [ 1913 Webster ]

n. [ L. bibliothecarius: cf. F. bibliothécaire. ] A librarian. [ Obs. ] Evelin. [ 1913 Webster ]

n. [ L. bibliotheca, Gr. &unr_;; &unr_; book + &unr_; a case, box, fr. &unr_; to place: cf. F. bibliothèque. ] A library. [ Obs. ] Bale. [ 1913 Webster ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[  /  , shū kù, ㄕㄨ ㄎㄨˋ]a store room for books; fig. an erudite person; the Bibliotheca and Epitome of pseudo-Apollodorus#23149[Add to Longdo]
[  /  , zhuànlu:è, ㄓㄨㄢˋlu:ㄜˋ]bibliographic sketch#92885[Add to Longdo]
[   /   , mù lù xué, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ ㄒㄩㄝˊ]bibliography#97300[Add to Longdo]
[  /  , zhuàn zàn, ㄓㄨㄢˋ ㄗㄢˋ]postscript to bibliography#208416[Add to Longdo]
[   /   , zhuàn jì xìng, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ]bibliographic#276482[Add to Longdo]
DING DE-EN Dictionary
Allgemeinbibliographie { f }
general bibliography; universal bibliography[Add to Longdo]
Anschaffungsvorschlag { m } / Anfrage (Bibliothek)
acquisition request[Add to Longdo]
Anschaffungsvorschlag { m } (Bibliothek)
book suggestion; recommendation[Add to Longdo]
Ausbildung { f } von Bibliothekaren / Bibliothekarinnen
education of librarians[Add to Longdo]
Ausbildungsbibliothek { f }
training library[Add to Longdo]
Auskunftsbibliothekarin { f }
reference librarian[Add to Longdo]
Ausleihbibliothek { f }
lending library[Add to Longdo]
Auswahlbibliographie { f }
selective bibliography[Add to Longdo]
Benutzer { m }; Benützer { m } (einer Bibliothek)
borrower; reader[Add to Longdo]
Benutzerbibliothek { f }
user library[Add to Longdo]
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographie
bibliography | bibliographies | closed bibliography[Add to Longdo]
Bibliograph { m }
bibliographer[Add to Longdo]
Bibliophilie { f }
bibliophily[Add to Longdo]
Bibliothek { f } | Bibliotheken { pl } | öffentliche Bibliothek { f } | wissenschaftliche Bibliothek { f }
library | libraries | public library | academic library; research library; scientific library[Add to Longdo]
Bibliothekar { m }; Bibliothekarin { f } | Bibliothekare { pl }
librarian | librarians[Add to Longdo]
Bibliotheksausbildung { f }
library education[Add to Longdo]
Bibliotheksexperten { pl }
Bibliotheksführung { f }
library tour[Add to Longdo]
Bibliotheksgebäude { n }
library building[Add to Longdo]
Bibliotheksgrundriss { m }
library's outline[Add to Longdo]
Bibliothekspersonal { n }
library personnel; library staff[Add to Longdo]
Bibliotheksschule { f }
library school[Add to Longdo]
Bibliotheksschulen-Ausbildung { f }
library school education[Add to Longdo]
Bibliothekstechniker { m }
library technician[Add to Longdo]
Bibliotheksverwaltung { f }
library maintenance[Add to Longdo]
Bibliothekswesen { n }
librarianship[Add to Longdo]
Buch { n }; Heft { n } | Bücher { pl } | lieferbare Bücher | Buch aufnehmen | Buch einordnen | Buch absignieren | (Buch) durchblättern | in ein Buch vertieft sein | wie es im Buche steht | vorhandene Bücher in der Bibliothek | ein Buch mit sieben Siegeln [ übtr. ]
book | books | books in print | to catalogue a book; to list a book | to put the book in order; to shelve a book | to check books against readers' requests | to flip through | to be sunk in a book | a textbook example | books available in the library | a sealed book[Add to Longdo]
Bücherei { f }; Bibliothek { f }
Bücherfreund { m }
bibliophile[Add to Longdo]
Bücherleidenschaft { f }
bibliomania[Add to Longdo]
Büchernarr { m }
bibliomaniac[Add to Longdo]
Datenbibliothek { f }
library of data[Add to Longdo]
Fachbibliothek { f }
technical library[Add to Longdo]
bibliophil
bibliophile[Add to Longdo]
Fahrbibliothek { f }
mobile library; traveling library[Add to Longdo]
Freihandbibliothek { f }
open access library[Add to Longdo]
Handbibliothek { f }
reference library[Add to Longdo]
Institutsbibliothek { f }
faculty library[Add to Longdo]
Kinderbibliothekar { m }
children's librarian[Add to Longdo]
Kinder- (und Jugend-) Bibliothek { f }
children's library[Add to Longdo]
Landesbibliothek { f }
regional library[Add to Longdo]
Landesbibliothek { f }
state library[Add to Longdo]
Leihbibliothek { f } | Leihbibliotheken { pl }
lending library | lending libraries[Add to Longdo]
Literaturangabe { f }; Literaturliste { f }
bibliographical reference; bibliography[Add to Longdo]
Literaturverzeichnis { n }
bibliography[Add to Longdo]
Magazinbibliothek { f }
storage library[Add to Longdo]
Modulbibliothek { f }
module library[Add to Longdo]
Nationalbibliothek { f }
national library[Add to Longdo]
Pflichtexemplar Bibliothek
depository library; copyright library[Add to Longdo]
Präsenzbibliothek { f }
reference library[Add to Longdo]
Longdo Approved FR-TH
(n)|f| ห้องสมุด เช่น La bibliothèque de l’école dispose d’une collection d’environ 350, 000 volumes.
EDICT JP-EN Dictionary
[さんしょう, sanshou](n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P)#418[Add to Longdo]
[しょし, shoshi](n, adj-no) bibliography#3825[Add to Longdo]
[そうらん, souran](n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography#7159[Add to Longdo]
[biburiogurafi-](n) bibliography[Add to Longdo]
[biburiomania](n) bibliomania[Add to Longdo]
[あいしょか, aishoka](n) bibliophile[Add to Longdo]
[こくさいしょし, kokusaishoshi](n) international bibliography[Add to Longdo]
[さんこうしょもく, sankoushomoku](n) bibliography[Add to Longdo]
[さんこうぶんけんいちらん, sankoubunken'ichiran](n) bibliography[Add to Longdo]
[しょしがく, shoshigaku](n) (1) bibliography (i.e. the study of books); (2) bibliology (i.e. the study of books, booklore and bibliography); (P)[Add to Longdo]
[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu](n) (technique of) bibliography[Add to Longdo]
[しょしさんしょう, shoshisanshou](n) bibliographic reference[Add to Longdo]
[しょしひょうじ, shoshihyouji](n) bibliographic identification; biblid[Add to Longdo]
[しょしようそ, shoshiyouso](n) bibliographic element[Add to Longdo]
[しょち, shochi](n) (derog) book nut; bibliomaniac; bookworm[Add to Longdo]
[しんかんしょし, shinkanshoshi](n) current bibliography[Add to Longdo]
[すいしょうぶんけんもくろく, suishoubunkenmokuroku](n) selected bibliography[Add to Longdo]
[ぜんこくしょし, zenkokushoshi](n) national bibliography[Add to Longdo]
[そきゅうしょし, sokyuushoshi](n) retrospective bibliography[Add to Longdo]
[ちょさくもくろく, chosakumokuroku](n) bibliographical catalogue; author bibliography[Add to Longdo]
[ぶんけんがく, bunkengaku](n) philology; bibliography[Add to Longdo]
[ほんのむし, honnomushi](n) bookworm; bibliophile; bibliophage[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[こくさいしょし, kokusaishoshi]international bibliography[Add to Longdo]
[さんしょう, sanshou]bibliographical reference[Add to Longdo]
[しょし, shoshi]bibliography[Add to Longdo]
[しょしがく, shoshigaku]bibliology, bibliography[Add to Longdo]
[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu]bibliography[Add to Longdo]
[しょしさんしょう, shoshisanshou]bibliographic reference[Add to Longdo]
[しょしようそ, shoshiyouso]bibliographic element[Add to Longdo]
[しんかんしょし, shinkanshoshi]current bibliography[Add to Longdo]
[ぜんこくしょし, zenkokushoshi]national bibliography[Add to Longdo]
[そきゅうしょし, sokyuushoshi]retrospective bibliography[Add to Longdo]
JDDICT JP-DE Dictionary
[ししょ, shisho]Bibliothekar[Add to Longdo]
[としょかん, toshokan]Bibliothek[Add to Longdo]
[しょしがく, shoshigaku]Bibliographie, Buecherkunde[Add to Longdo]
[ぞうしょ, zousho]Buechersammlung, Bibliothek[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ