(-แหฺย่ง) ก. ขะเย้อแขย่ง, เขย่งแล้วเขย่งอีก, โดยปริยายหมายความว่า พยายามจะให้ได้สิ่งที่สุดเอื้อม.
(-ขะแหฺย่ง) ก. กระเย้อกระแหย่ง, เขียนเป็น เขย้อแขย่ง ก็มี.
(ชักกะ-) น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง โดยแบ่งผู้เล่นออกเป็น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายจะมีจำนวนเท่า ๆ กันหรือกำลังพอ ๆ กัน มักใช้เชือกขนาดพอกำรอบ ยาวพอที่จะให้ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายเรียงแถวจับได้ โดยมีที่ว่างระหว่างกลางเหลือไว้ประมาณ ๒ เมตร กลางเชือกคาดด้วยผ้าหรือใช้สีป้ายเป็นเครื่องหมายไว้ วางกึ่งกลางเชือกไว้บนพื้นที่ที่มีเส้นขีดกลางเป็นเส้นแบ่งเขตแดน เมื่อกรรมการให้สัญญาณ ผู้เล่นทั้ง ๒ ฝ่ายต่างก็จะพยายามดึงเชือกให้กึ่งกลางของเชือกเข้ามาในแดนของตน ถ้าฝ่ายใดสามารถดึงกึ่งกลางเชือกเข้ามาในแดนของตนได้ ถือว่าชนะ ตามปรกติจะแข่งกัน ๓ ครั้ง ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ ครั้งถือว่าชนะเด็ดขาด.
(ชักกะ-) ก. ดึงหรือรั้งไปมา.
เยิ่นเย้อ, ยืดยาด, มักใช้แก่การพูด เช่น พูดเป้อเย้อ.
ก. เอามาด้วยแรงบังคับโดยการฉุดรั้งแย่งกัน, ใช้แรงฉุดรั้งดึงกันไปมา.
ว. จองหองเกินฐานะ, แสดงอาการยโสโอ้อวด, ถือตัว, อวดดี.
ว. ยืดยาด, ไม่กะทัดรัด, ไม่รัดกุม, (โดยมากใช้แก่คำพูดหรือข้อความ) เช่น พูดจาเยิ่นเย้อ ข้อความเยิ่นเย้อ.
ว. ชักช้า, เรื่องมาก, ยืดเยื้อ, เพ้อเจ้อกฐินบก ก็ว่า.
(ขะเย่อขะแหฺย่ง) ก. กระเย้อกระแหย่ง, ออกเสียงว่า ขะเย้อขะแหย่ง ก็มี.
ว. เย่อหยิ่ง, ทะนงตัว, ถือดี, อวดดี.
ว. เย่อหยิ่งแสดงอาการลบหลู่.
ความโอ้อวด, ความจองหอง, ความเย่อหยิ่ง, เช่น แลมาให้แก่บาคค่อมขวลทรรป (ม. คำหลวง ชูชก).
ว. ทำท่าเย่อหยิ่งไม่พูดจากับใคร.
(-โหฺยง) ว. จองหอง, เย่อหยิ่ง.
ลำพอง, เย่อหยิ่ง, ฮึกเหิม.
ว. ชักช้า, เรื่องมาก, ยืดเยื้อ, เยิ่นเย้อกฐินบก ก็ว่า.
ก. เย่อหยิ่งเพราะถือตัวว่ามียศ มีปัญญา มีความรู้ มีกำลัง มีทรัพย์ ฯลฯ.
ว. ไม่รุ่มร่าม, กระชับ, ไม่ยาวเยิ่นเย้อ, เช่น แต่งตัวรัดกุม สำนวนรัดกุม.
(สะตับ) ว. แข็งกระด้าง, เย่อหยิ่ง.
ว. อาการที่คอตั้งเงยหน้าแสดงความเย่อหยิ่งหรือภาคภูมิใจเป็นต้น เช่น เขานั่งรถยนต์คันใหญ่ทำหน้าเชิด.
น. ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง.
น. ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว.
ความเย่อหยิ่งจองหอง, ความทะนงตัว, ความก้าวร้าวด้วยการถือว่าตนเองสำคัญ.