186 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*อชา*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: อชา, -อชา-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(adj)deliciousSee Also:tasty, yummy, ambrosial, delectable, scrumptious, toothsomeSyn.โอชะ, อร่อยExample:พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานอาหารโอชา และอุดมสมบูรณ์ให้แก่เราThai Definition:มีรสดี
(v)be well-knownSee Also:be celebrated, be renowned, be famousSyn.ลือชาปรากฏ, ขึ้นชื่อลือชา, โด่งดัง, ระบือ, เลื่องชื่อ, เลื่องลือ, ลือเลื่อง, ลือนาม, ลือชื่อExample:กาญจนบุรีเป็นค่ายเชลยที่ลือชามากในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง
(n)raceSee Also:origin, nationality, extractionSyn.เผ่าพันธุ์Example:สังคมอเมริกันนั้นเป็นสังคมของคนหลายเชื้อชาติมาร่วมกันThai Definition:ผู้ที่ร่วมเผ่าพันธุ์เดียวกัน
(adj)be celebratedSee Also:be famous, be renowned, be well knownSyn.เลื่องลือ, มีชื่อเสียงExample:เมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเที่ยวที่ขึ้นชื่อลือชาอันดับหนึ่งของเมืองไทย
(n)civil boy scoutExample:เขามาฝึกเป็นลูกเสือชาวบ้าน เพื่อไปทำประโยชน์แก่คนในท้องถิ่นThai Definition:ชาวบ้านที่ฝึกอบรมให้มีระเบียบวินัยแบบลูกเสือ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. ผู้ที่ร่วมเผ่าพันธุ์เดียวกัน.
ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่ออายุ ก็ว่า.
น. เรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและน้ำหอมเป็นต้น.
ก. มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้กันทั่วไป.
ก. ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องประเทศชาติ.
น. แพะตัวเมีย.
ดู อชะ.
ว. มีรสดี, อร่อย.
น. รสที่ซึมซาบ, เครื่องหรือสิ่งบำรุงเลี้ยงให้เกิดความเจริญงอกงาม.
น. ชื่อปลาผิวนํ้าทุกชนิด ในวงศ์ Belonidae และ Hemiramphidae ลำตัวกลมยาวคล้ายปลาเข็ม กระดูกปากทั้งตอนบนและล่างหรือเฉพาะตอนล่างยื่นยาวแหลม หางเป็นแฉก บ้างก็ตัดเฉียงลงมากน้อยหรือกลมแล้วแต่ชนิดหรือสกุล ส่วนใหญ่พบในเขตนํ้ากร่อยหรือชายทะเล เช่น ชนิดในสกุล Hemiramphus, Hyporhamphus, Rhynchorhamphus, Tylosurus, Strongyluraและ Zenarchopterusชนิดที่พบในทะเลห่างฝั่งและบริเวณรอบเกาะ คือ กระทุงเหวบั้ง [ Ablennes hians (Valenciennes) ] ซึ่งมีชุกชุมที่สุด บางชนิดพบอาศัยอยู่ในนํ้าจืด เช่น กระทุงเหวเมือง [ Xenentodon cancila (Hamilton) ] ขนาดยาวได้ถึง ๑.๒๕ เมตร, เข็ม ก็เรียก.
น. ชื่อกุ้งขนาดกลางชนิด Macrobrachium equidens (Dana) ในวงศ์ Palaemonidae ก้ามมีปื้นสีเข้ม อาศัยอยู่ในย่านน้ำกร่อย และพบบ้างในน้ำจืดหรือชายทะเล, กุ้งแห ก็เรียก.
ก. ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่น ๆ ใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียงเย็บหุ้ม ๒ ข้างเม้มเข้าเป็นตะเข็บกลมบ้างแบนบ้าง มักใช้ที่คอเสื้อหรือชายเสื้อเป็นต้น.
(เกียดติยด) น. เกียรติโดยฐานะตำแหน่งหน้าที่หรือชาติชั้นวรรณะ.
น. ชื่อชามสมัยก่อน สีเขียวปนครามอ่อน ๆ รูปก้นสอบ ปากผาย.
(โคน) น. ชนกลุ่มหนึ่งในประเทศอินเดียฝ่ายใต้ เช่น ผู้สืบสัมพันธ์โคตรเค้าโคลตระกูล ทิชาเชื้อชาติธชีชูชก (ม. ร่ายยาว ชูชก).
น. รูปร่าง, ทรวดทรง, เค้า, เช่น เนื้อชาววังใช้ช้า โฉมใช่โฉมคนค้า หน้าใช่หน้ากริกกริว (ลอ).
น. ชนต่างเผ่าหรือต่างเชื้อชาติที่อยู่อาศัยรวมกันกับชนเผ่าอื่นหรือเชื้อชาติอื่นที่มีจำนวนมากกว่า.
ว. อาการที่รู้สึกได้น้อยกว่าปรกติ เนื่องจากเส้นประสาทรับความรู้สึกถูกกด ถูกตัดขาด หรือถูกสารพิษ เช่น มือชา เท้าชา
ก. หมายไว้, กำหนดไว้, เช่น เอามีดสับชาไว้ที่ประมาณส่วนกลางลำอ้อยในการเล่นค่องอ้อย, ใช้ประกอบกับคำ กฎ เป็น กำหนดกฎชา, สังกัด เช่น แบ่งปันแผนกหมู่ชา (พระอัยการบานแพนก), สรนุกนิเรียบเรือชา (สมุทรโฆษ).
สบาย, ดี, เช่น ลือชา.
กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน.
(ชาดนิยม) น. ลัทธิที่ถือชาติเป็นใหญ่, ความรักชาติ.
(ชาดติพัน) น. กลุ่มที่มีพันธะเกี่ยวข้องกัน และที่แสดงเอกลักษณ์ออกมา โดยการผูกพันลักษณาการของเชื้อชาติและสัญชาติเข้าด้วยกัน.
(ชาดติพันวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งเชื้อชาติของมนุษย์ กำเนิดของเชื้อชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อชาติ ตลอดจนลักษณะเฉพาะของเชื้อชาติต่าง ๆ.
ว. เห็นจะ, ค่อนข้าง, เช่น ชายจะเบากว่าพ่อชาลี (ม. ร่ายยาว).
น. กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน เช่น ชาวไทย ชาวจีน หรืออยู่ในถิ่นฐานเดียวกัน เช่น ชาวเมือง ชาวชนบท หรือมีอาชีพอย่างเดียวกัน เช่น ชาวไร่ ชาวนา ชาวประมง หรือนับถือศาสนาร่วมกัน เช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ หรืออยู่ในแวดวงเดียวกัน เช่น ชาวอักษร ชาวค่าย.
น. ตีนซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่งบางอย่าง เช่น เชิงสะพาน เชิงเขา เชิงกำแพง, ชายหรือปลายของบางสิ่งบางอย่างที่ยื่นออกมา เช่น เชิงตะพาบนํ้า เชิงปลากราย เชิงเลน เชิงกลอน, ริมหรือชายด้านล่างของผ้าที่มีลวดลายเช่น เชิงผ้า เชิงผ้าซิ่น.
ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย
น. วิธีการที่นายทุนทำสัญญาซื้อขายข้าวหรือผลไม้ตามที่ตกลงกันกับชาวนา ชาวสวน หรือชาวไร่เมื่อข้าวลัดใบหรือผลไม้ยังอ่อนอยู่ โดยตกลงกันว่านายทุนจะได้ข้าวเปลือกหรือผลไม้นั้นไปหลังจากนวดข้าวแล้วหรือเมื่อผลไม้นั้นแก่เต็มที่แล้ว เช่น ตกเขียวลำไย, โดยปริยายหมายถึงการที่พ่อแม่รับเงินจากนายทุนซึ่งจ่ายให้เป็นค่าตัวเด็กผู้หญิงไว้ล่วงหน้า แล้วนายทุนจะมารับตัวเด็กไปเพื่อค้าประเวณีเป็นการใช้หนี้คืนให้แก่นายทุน.
ก. เพิ่มให้ยาวหรือขยายออกไป เช่น ต่อเชือก เอาตู้รถไฟมาต่อกัน ต่อชานบ้าน, เพิ่มให้ยืดออกไป เช่น ต่อเวลาออกไป ต่อหนังสือสัญญา
ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่อชะตา หรือ ต่อชาตา ก็ว่า.
น. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
น. คำนำหน้าชื่อชายที่มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
(-บาด) น. เรียกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่งที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดหรือชาดกต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เช่น สุตตนิบาต = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน นิบาตชาดก = ชื่อคัมภีร์ที่รวบรวมชาดกต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกไว้ด้วยกัน โดยแบ่งย่อยเป็นหมวดต่าง ๆ
ก. แสดงกิริยาท่าทีหรือคำพูดให้รู้ว่ามีลักษณะนิสัยใจคอหรือชาติตระกูลเป็นอย่างไรเป็นต้น.
ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง เป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิบ้าง นั่งห้อยพระบาทอย่างนั่งเก้าอี้บ้าง เครื่องหมายสำคัญอยู่ที่พระหัตถ์ขวา ทำนิ้วพระหัตถ์กรีดเป็นวงกลม ส่วนพระหัตถ์ซ้ายวางหงายอยู่บนพระเพลาบ้าง ถือชายจีวรบ้าง ทำท่าทางประคองพระหัตถ์ขวาบ้าง.
น. ชื่อชามชนิดหนึ่ง ก้นเล็กปากบานอย่างรูปงอบหงาย.
น. ชื่อสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Rhacophoridae รูปร่างใกล้เคียงกับกบหรือเขียด ขายาว ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่หน้ามาก ปลายนิ้วเป็นปุ่มแบนสามารถยึดเกาะติดกับพื้นผิวหน้าเรียบได้ มักพบอาศัยอยู่ตามต้นไม้ ตัวผู้ทำกองฟองสำหรับตัวเมียวางไข่ไว้ตามกิ่งไม้เหนือชายนํ้า กินแมลง เช่น ปาดบ้านหรือเขียดตะปาด [ Polypedates leucomystax (Gravenhorst) ] ซึ่งพบทั่วไป, ปาดบินหรือปาดเขียวตีนดำ ( Rhacophorus nigropalmatus Boulenger), ปาดตะปุ่มจันทบุรี ( Theloderma stellatum Taylor), เขียดตะปาด ก็เรียก.
น. พ่อของพ่อ, ผัวของย่า, ญาติผู้ชายหรือชายที่นับถือชั้นปู่.
น. วิธีการจับสัตว์น้ำอย่างหนึ่ง โดยใช้ผ้าหนา ๆ ห่อทรายม้วนเป็นลำยาวแล้วใช้คนประมาณ ๑๐ คนดันผ้าไปตามหาดทรายหรือชายตลิ่งตื้น ๆ เพื่อต้อนปลาขึ้นไปบนฝั่ง.
น. เหล่ากอ, กลุ่มชนเชื้อชาติเดียวกัน (มักใช้แก่ชนกลุ่มน้อยของประเทศ) เช่น ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ.
(พฺลี) ก. เสียสละ เช่น พลีชีพเพื่อชาติ, บวงสรวงเชิญเอามา (ใช้แก่ยาสมุนไพร) เช่น ไปพลียาที่ต้นเทียน คือ ไปบวงสรวงเก็บต้นเทียนหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นเทียนมาทำยารักษาโรค.
น. ผู้ชายผู้เป็นหัวหน้าเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย.
น. รูปที่แสดงให้รู้ว่าหญิงหรือชาย
(พาชะนะ, พาดชะนะ) น. เครื่องใช้จำพวกถ้วยโถโอชามหม้อไหเป็นต้น สำหรับใส่สิ่งของ.
คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา (พงศ. ร. ๓)
น. หญิงผู้เป็นหัวหน้าซ่องโสเภณี, ผู้หญิงผู้เป็นหัวหน้าควบคุมดูแลเลี้ยงหญิงสาวไว้บำเรอชาย.
น. ชื่อแมลงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Ceratopogonidae ขนาดเล็กเท่าแมลงหวี่ มีปีกคู่เดียว มักพบบินอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง หรือชายทะเล ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ทำให้เกิดอาการระคายเคือง ที่พบมากอยู่ในสกุล Culicoides และ Leptoconops ถ้าพบมากตามเขตติดต่อกับทะเล เรียก ริ้นน้ำเค็ม.
น. พี่ชายของพ่อหรือแม่ หรือชายที่มีวัยไล่เลี่ยแต่แก่กว่าพ่อหรือแม่, คำเรียกชายที่ไม่รู้จักแต่มักจะมีอายุแก่กว่าพ่อหรือแม่.
ก. ลือชา.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
สิทธิเหนือชายฝั่ง [ ดู riparian rights ประกอบ ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การถือผิว, การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถือผิว, การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กลุ่มเชื้อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การยุยงให้เกลียดชังเชื้อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คตินิยมเชื้อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คตินิยมเชื้อชาติ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ผู้นิยมเชื้อชาติ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เชื้อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เชื้อชาติ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เชื้อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เหนือชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คนทรยศต่อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเลิกแบ่งแยกเชื้อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การถือผิว, การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การยุยงให้เกลียดชังเชื้อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความจงรักภักดีต่อชาติ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ชนกลุ่มน้อยทางเชื้อชาติ, ชนชาติส่วนน้อย[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน[Assistive Technology]
ศิลปะกับเชื้อชาติ[TU Subject Heading]
กลุ่มอาการประสาทมือชา[TU Subject Heading]
อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (ค.ศ. 1965)[TU Subject Heading]
อาชีพกับเชื้อชาติ[TU Subject Heading]
เชื้อชาติ[TU Subject Heading]
การกีดกันทางเชื้อชาติ[TU Subject Heading]
เอกลักษณ์เชื้อชาติ[TU Subject Heading]
ปัญหาเชื้อชาติ[TU Subject Heading]
คตินิยมเชื้อชาติ[TU Subject Heading]
ชายฝั่งหรือชายทะเลExample:เส้นแนวขอบติดหน้าดิน ณ ที่น้ำทะเลลงเต็มที่ ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเส้น แนวฝั่งออกไปในทะเลเรียกว่า นอกฝั่ง (Off Shore) [สิ่งแวดล้อม]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
การเลือกประติบัติทางเชื้อชาติ[การทูต]
งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้[การทูต]
งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก[การทูต]
เชื้อชาติออสตราลอยด์; ออสเตรลอยด์, เชื้อชาติ[การแพทย์]
คอเคซอยด์, เชื้อชาติ;เชื้อชาติคอเคซอยด์[การแพทย์]
หลักของเลอชาเตอลิเอ, หลักการซึ่งกล่าวว่า เมื่อรบกวนระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้นโดยการเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่ การรบกวนภาวะสมดุลได้แก่ การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อุณหภูมิหรือความดัน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เชื้อชาติ, กลุ่มย่อยของมนุษย์ที่จำแนกโดยกำหนดความแตกต่างในด้านสีผิว สีของนัยน์ตา ลักษณะของเส้นผม ตลอดจนสัดส่วนของร่างกาย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
อวัยวะเพศผิดปกติไม่บ่งว่าเป็นหญิงหรือชาย, [การแพทย์]
หมอชาวบ้าน[การแพทย์]
ภูมิคุ้มกันโดยเชื้อชาติ[การแพทย์]
เชื้อชาติมองโกลอยด์; มองโกลอยด์, เชื้อชาติ[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[amphoē chāidaēn] (n, exp) FR: ville frontalière [ f ]
[cheūachāt] (n) EN: race ; origin ; nationality ; extraction  FR: race [ f ] ; espèce [ f ] ; origine [ f ]
[dōi theū chattiphan] (adv) EN: racially  FR: de manière raciste
[kān leūak patibat tām cheūachāt] (n, exp) EN: racial discrimination  FR: discrimination raciale [ f ]
[khø chā] (n, exp) EN: person who likes tea  FR: amateur de thé [ m ]
[leūchā] (v) EN: be well-known ; be celebrated ; be renowned ; be famous  FR: être célèbre
[lūkseūa chāobān] (n, exp) EN: civil boy scout
[mø chā] (n, exp) EN: teapot  FR: théière [ f ]
[ōchā] (adj) EN: delicious ; tasty ; yummy ; ambrosial ; delectable ; scrumptious ; toothsome  FR: savoureux ; succulent ; délectable (litt.)
Longdo Approved EN-TH
(n)ความเชื่อที่ว่าชนชาติ ประชาชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เชื้อชาติของตนนั้น ดีเลิศกว่าชนชาติอื่น
(name)ชื่อชาวออสเตรเลีย (1962 - 2006) เป็นผู้ชำนาญด้านสัตว์ป่าและมีผลงานรายการโทรทัศน์, มีสมญานามว่า นักล่าจระเข้, ชอบแสดงแบบเสี่ยงอันตรายกับสัตว์
Image:
Steve Irwin
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(idm)ทุกชนชั้นทางสังคม เศรษฐกิจ และเชื้อชาติSee Also:ทุกประเภท
(n)นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr.ในภาษาอังกฤษ)Syn.babu
(n)นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr ในภาษาอังกฤษ)Syn.baboo
(n)ลูกเสือชาวบ้านAnt.girl scout
(n)การเชื่อว่าประเทศหรือเชื้อชาติของตนสำคัญที่สุด
(vi)แบ่งแยกเชื้อชาติSee Also:แบ่งแยกสีผิวหรือเผ่าพันธุ์Syn.exclude, isolateAnt.unite, integrate
(n)ประเทศหรือดินแดนเล็กๆ ที่มีวัฒนธรรมและเชื้อชาติแตกต่างจากดินแดนอื่นที่ล้อมรอบอยู่
(n)ลักษณะของเชื้อชาติหรือกลุ่มชนที่เหมือนกันหรือต่างกัน
(n)การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์See Also:การทำลายล้างเชื้อชาติ
(adj)เกี่ยวกับเชื้อชาติ วัฒนธรรม และภาษาเยอรมัน
(n)ชาวกอธหรือชาวเยอรมันโบราณ
(n)การแต่งงานระหว่างผู้มีเชื้อชาติ ศาสนาหรือสังคมต่างกัน
(vi)แต่งงานระหว่างผู้มีเชื้อชาติ ศาสนาหรือสังคมต่างกัน
(n)เชื้อชาติส่วนใหญ่ในประเทศฮังการี
(n)การแต่งงานต่างเชื้อชาติ
(n)การแต่งงานของคนต่างเชื้อชาติหรือศาสนากัน
(adj)ซึ่งมีหลายเชื้อชาติSyn.integrated
(adj)เกี่ยวกับปากีสถานหรือชาวปากีสถาน
(vt)ก่อกวน (ทางเชื้อชาติ, ศาสนา, การเมือง, พวกรักร่วมเพศ)See Also:กลั่นแกล้ง, ก่อกวน, ตามรังควานSyn.spite, victimize
(adj)ระบบเชื้อชาติ
(n)สังคมที่มีกลุ่มชนที่แตกต่างกัน (เช่น ศาสนา เชื้อชาติหรืออื่นๆ)
(n)ความสัมพันธ์ระหว่างคนต่างเชื้อชาติที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน
(n)พฤติกรรมรุนแรงระหว่างคนต่างเชื้อชาติที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน
(adj)ซึ่งคงอยู่ระหว่างเชื้อชาติที่ต่างกัน
(adj)เกี่ยวกับเชื้อชาติSyn.ethnographical
(n)การเหยียดเชื้อชาติ
(n)ผงสีแดงละเอียดหรือชาดสำหรับทาแก้มSyn.blusher
(sl)กาแฟหรือชา
(sl)กาแฟหรือชาหนึ่งถ้วย
(n)ภาษาหรือชาวเมืองซาแมเรีย
(vt)แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรมSee Also:ใช้นโยบายแบ่งแยกตามเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรมSyn.classify, discriminate, ghettoize, separate
(n)การแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรมSee Also:การกีดกัน, การแบ่งแยกสีผิว, การแบ่งตามพันธุกรรมSyn.discrimination, isolation, separation, seclusion
(adj)เกี่ยวกับการแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม
(adj)ซึ่งแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม
(n)ผู้แบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา หรือวัฒนธรรม
(idm)เป็นชาวเรือหรือชาวทะเล
(n)เชื้อชาติSee Also:ชนชาติ
(adj)เกี่ยวกับเวียดนามหรือชาวเวียดนาม
Hope Dictionary
(แอลลิแมน' ไน) n., pl. หมาพันธุ์เชื้อชาติเยอรมันที่ตั้งรกรากบนฝั่งแม่น้ำไรน์ แม่น้ำดานูบและแม่น้ำ MainSyn.Alamani
(แอนเนสธีซิออล' โลจิสทฺ) n. แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาสลบหรือชา, วิสัญญีแพทย์Syn.anaesthe- siologist
(คาฟิน) n. แอลคาลอยด์ขมชนิดหนึ่งที่ได้จากกาแฟหรือชา
(คลอชาด') n. ชายพเนจร
(คัมเพ'ทรีเอิท) n. คนร่วมชาติ, คนชาติเดียวกัน. adj. เกี่ยวกับประเทศหรือชาติเดียวกัน.See Also:compatriotic adj. ดูcompatriot compatriotism n. ดู compatriotic adj. ดูcompatriotSyn.fellow countryman
(คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต
(เลบบะนีซ') adj., n. (เกี่ยวกับ) เลบานอนหรือชาวเลบานอน pl. Labanese
(-ซิจะเน'เชิน) n.การสมรสระหว่างหญิงชายที่มีเชื้อชาติต่างกัน, การผสมพันธุ์ระหว่างเชื้อชาติSee Also:miscegenetic adj.
(นิก'เกอะ) n. นิโกร, คนผิวดำที่เนื่องจากเชื้อชาติSee Also:niggerish adj. niggery adj.
(เพอชานซฺ') adv. อาจจะ, บางที, โดยบังเอิญSyn.perhaps
(เรส) vi., vt., n. (การ) วิ่งแข่ง, วิ่งอย่างรวดเร็ว, แข่งม้า., แข่งขันความเร็ว, การแข่งขัน, ความเชี่ยว, เชื้อชาติ, ชนชาติ, เผ่าพันธุ์, วงศ์ตระกูล, เชื้อสาย, พันธุ์, ชนชั้น, รสนิยม
(เร'เชิล) adj. เกี่ยวกับเชื้อชาติ (ชนชาติ, มนุษยชาติ, เผ่าพันธุ์, วรรณะ, เชื้อสาย)
(เร'ซิสซึม) n. ลัทธิชนชาติ, ลัทธิเชื้อชาติ, ลัทธิเผ่าพันธุ์, ลัทธิเหยียดผิว, ลัทธิเหยียดหยามชนชาติSee Also:racist n.
(เซก'ระเกท) vt. แยกออกจากกัน, แบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม) vi. แยกออก, แบ่งออก, ถอนตัวออก, หันไปเกาะ, (พันธุศาสตร์) แยกออกระหว่างการแบ่งเซลล์แบบmeiosis (ดู) , หันไปรวม.See Also:segregable adj. segregative adv. segregator n. คำที่มีความหมายเหมื
(เซก'ระเกทิด) adj. แยกตัวออก, แบ่งแยกผิว, แบ่งแยกเชื้อชาติ, เฉพาะกลุ่ม, สำหรับให้เฉพาะกลุ่มใช้.See Also:segregatedly adv. segregatedness n.
(เซกระเก'เชิน) n. การแยกตัวออก, การแบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม)See Also:segregational adj.Syn.exclusion, discrimination, separation
(สโพลิเอ'เชิน) n. การปล้น, การชิงทรัพย์, การทำลาย, การปล้นเรือชาติเป็นกลางในยามสงคราม, การทำลายเอกสาร, การทำให้เสื่อมเสีย, การทำลายSee Also:spoliative adj.
(สเทรน) vt., vi., n. (การ) ทำให้ตึง, ขึงให้แน่น, ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, ทำให้ตึงเครียด, ขยายเกินไป, ต้องการมากเกินไป, เทของเหลวผ่านที่กรอง, กรองออก, ใช้อำนาจหน้าที่ไปในทางที่ผิด, กอดรัด, ยับยั้ง, รูปงอคดเนื่องจากถูกดึง, ความตึงเครียด, พันธุ์, ชนิด, เชื้อชาติ, วงศ์, สกุล, บรรพบุรุษ
(ทีพอท') n. การชงชา, หม้อชา
(แวม'ไพเออะ) n. ผีดูดเลือดมนุษย์, นักต้มมนุษย์, หญิงล่อชายให้ประสบความหายนะ, ค้างคาวจำพวก Desmodusdiphylla และ Diaemus มันดูดเลือดคนและสัตว์อื่นเป็นอาหารSee Also:vampiric adj. vampirish adj.Syn.vampire bat
(วะนี'เชิยน) adj. เกี่ยวกับกรุงเวนิสหรือชาวเวนิส. n. ชาวเวนิส
(เวียตนะมีซ') n. ชาวเวียดนาม, ภาษาเวียดนาม (เป็นภาษาAustroasiaticภาษาหนึ่ง) . adj. เกี่ยวกับเวียดนาม หรือชาวเวียดนาม pl. Vietnamese
Nontri Dictionary
(n)โอชารส, ความอร่อย, ความโอชะ, ความเอร็ดอร่อย, ความชอบ
(adj)เพื่อชาติ, เกี่ยวกับประชาชาติ, ของชาติ
(adj)เกี่ยวกับผิว, เกี่ยวกับเชื้อชาติ, เกี่ยวกับเผ่าพันธุ์
(vt)แบ่งแยกเชื้อชาติ, แยก
(n)การแบ่งแยกเชื้อชาติ, การแยก
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[อาดัม](n)อาดัม เป็นชื่อชายคนแรกของโลกที่พระเจ้าทรงสร้างมาตามความเชื่อของศาสนาคริสต
(n)ความรู้สึกไม่ชอบโดยไม่มีเหตุผล (โดยมากมักเกี่ยวข้องกับ เชื้อชาติ, ศาสนา, สีผิว ฯลฯ), อคติ
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(adj)ระบบเชื้อชาติ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ