353 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*วิเคราะห์*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: วิเคราะห์, -วิเคราะห์-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(v)analyzeSee Also:contemplate, considerSyn.พินิจพิจารณาExample:การจับคนมาขึ้นเขียงเพื่อวิเคราะห์นั้น เราอาจจะทำได้หลายแง่หลายมุมThai Definition:พิจารณาอย่างละเอียด
(n)reviewSee Also:criticExample:บทวิเคราะห์การเมืองในหนังสือพิมพ์ฉบับนี้วิเคราะห์ได้ละเอียดมากUnit:บทThai Definition:ส่วนที่เป็นการพิจารณาวิเคราะห์
(n)psychoanalysisExample:ฟรอยด์ใช้หลักจิตวิเคราะห์อธิบายพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นตอนต้นThai Definition:ทฤษฎีที่อธิบายพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยผู้ใหญ่ ในด้านลักษณะความขัดแย้งของแรงจูงใจ และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต
(n)analystExample:ในอนาคตบริษัทของเราจะจ้างนักวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบอีกสามคนUnit:คนThai Definition:ผู้ทำการวิเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคระห์
(n)analysis resultSyn.ผลวิจัยExample:จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้นThai Definition:ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ
(n)analysisExample:การวิเคราะห์งานในแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียด
(n)psychoanalysisExample:นักจิตวิเคราะห์ถือว่าความฝันเป็นสิ่งสะท้อนถึงจิตในส่วนลึกทั้งความสุขและความทุกข์Unit:คนThai Definition:ผู้ชำนาญการในด้านวิเคราะห์จิตใจตามหลักจิตวิทยา
(n)commentatorSee Also:news analystSyn.นักพิเคราะห์ข่าว, นักวินิจฉัยข่าวExample:ทางรายการมีโอกาสต้อนรับนักวิเคราะห์ข่าวชื่อดังซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีUnit:คนThai Definition:ผู้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข่าวนั้น
(n)analytic geometryThai Definition:เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่างๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้นๆ รวมทั้งการแปลความหมายด้วยNotes:(คณิต)
(n)content analysisExample:ขั้นตอนที่ยากที่สุดในการทำรายงานคือการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อเขียนในรายงาน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย.
ก. ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะห์เหตุการณ์
แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว.
น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์.
วิเคราะห์ถ้อยคำ ข้อความ และความมุ่งหมายของบทกฎหมาย นิติกรรม สัญญา หรือเอกสารอื่น ๆ ที่มีปัญหาสงสัย หรือที่มีความหมายไม่ชัดเจน เพื่อให้ทราบความหมายของถ้อยคำหรือข้อความนั้น ๆ.
ว. จนถึงสาระสำคัญ เช่น เขาวิเคราะห์เจาะลึกได้ถึงแก่น.
น. หลอดแก้วยาว ปลายล่างมีลูกบิดให้ปิดเปิดได้ ข้างหลอดมีขีดบอกปริมาตรสำหรับวัดของเหลวที่ไขออก ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ทางเคมี.
น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล.
(เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน.
น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา.
น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค.
(ลิดมัด) น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งลักษณะเป็นผงสีม่วง ละลายนํ้าได้ สารละลายลิตมัสให้สีแดงเมื่อถูกกรด แต่ให้สีนํ้าเงินเมื่อถูกด่าง ใช้ประโยชน์ในเคมีวิเคราะห์และใช้ทดสอบสภาพกรดหรือด่างของดิน.
น. เครื่องมือที่ใช้ศึกษาการวิเคราะห์สเปกตรัม.
น. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น.
น. ความรู้ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ แล้วนำมาบูรณาการเข้าเป็นความรู้ในระดับที่สูงขึ้น.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การวิเคราะห์ตามช่วงเวลา[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์ขั้นต้น[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
การวิเคราะห์ตามบุคคลในรุ่น[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
จิตวิเคราะห์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
นักจิตวิเคราะห์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
-จิตวิเคราะห์, เชิงจิตวิเคราะห์[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
จุดวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การวิเคราะห์ศัพท์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การวิเคราะห์การย้ายถิ่นตามยาว[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์ตามยาว[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ระดับการวิเคราะห์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การวิเคราะห์เชิงจริง[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การวิเคราะห์โดยลำดับ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การวิเคราะห์ประชากรคงตัว[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์ระบบ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การวิเคราะห์ระบบ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การศึกษาเชิงวิเคราะห์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
นักวิเคราะห์ระบบ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์ระบบ[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
นักวิเคราะห์ระบบ[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การวิเคราะห์เชิงวากยสัมพันธ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องวิเคราะห์คลื่นเสียง[สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิทยาวิเคราะห์น้ำลาย[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
ข้อความวิเคราะห์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์ตน[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การวิเคราะห์การสบ (ฟัน)[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
-วิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
การต่อเนื่องวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ฟังก์ชันวิเคราะห์ [ มีความหมายเหมือนกับ regular function ][คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
เรขาคณิตวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
กลุ่มหินวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
วิธีวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ข้อความวิเคราะห์[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
บาศกนิยมแบบวิเคราะห์[ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การศึกษาเชิงวิเคราะห์[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
จุดวิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
วิเคราะห์[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
วิเคราะห์[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
สอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ช่วงฟุตสอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
เกรดสอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ช่วงนิ้วสอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ขอบเขตสอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
สอบวิเคราะห์ต่อตัน[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ค่าสอบวิเคราะห์[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
สัมผัสวิเคราะห์[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ตัววิเคราะห์, เครื่องวิเคราะห์๒. โปรแกรมวิเคราะห์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เครื่องวิเคราะห์[ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
การวิเคราะห์[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
การวิเคราะห์หนังสือ[เทคโนโลยีการศึกษา]
การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหาExample:Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การวิเคราะห์ระบบ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้Example:ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันExample:ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์กลุ่มแฝง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์คอนจอยท์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์โดยการวัดสี[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์กิจกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์ต้นทุน[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์ทางเคมี[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ[เศรษฐศาสตร์]
คณิตวิเคราะห์[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์ภาวะการเงิน[เศรษฐศาสตร์]
การวิเคราะห์การจำแนกประเภท[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์การถดถอย[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ความแปรปรวน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์จัดกลุ่ม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เชิงซ้อน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เชิงตัวเลข[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์โดยอุปกรณ์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ตัวประกอบ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ตัวแปรพหุ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ทางความร้อน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์พหุระดับ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์ฟูเรียร์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์สเปกตรัม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์เส้นโยง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การวิเคราะห์อภิมาน[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
คุณไม่เข้าใจว่าผม พูดอะไรเกี่ยวกับสาขาการวิเคราะห์Basic Instinct (1992)
คุณไม่ใช่นักวิเคราะห์Basic Instinct (1992)
บทวิเคราะห์ในหนังสือของฉัน ถูกครอบงำโดยเรื่องพวกนั้นBasic Instinct (1992)
เคลลี่ได้พบกับนักวิเคราะห์ระหว่าง การมาอยู่ที่เรือนจำฮอลโลเวย์Basic Instinct (1992)
บทวิเคราะห์ของเธอไม่ค่อยมั่นใจBasic Instinct (1992)
กล่าวได้ว่า เขาเป็นนักวิเคราะห์ ด้านอาชญากรรมรุนแรง ที่เยี่ยมที่สุดDeep Throat (1993)
พวกเรา เชื่อมั่นในตัวคุณ ว่ามี การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เหมาะสมDeep Throat (1993)
ฉันจะได้วิเคราะห์ และเปรียบเทียบตัวอย่างของเหลวได้Junior (1994)
เราทั้งคู่น่าจะไปพบนักวิเคราะห์ทางจิตJunior (1994)
ครูเคยขอให้พวกเธอวิเคราะห์ บทกวีที่พวกเธอชื่นชอบWild Reeds (1994)
ของเธอวิเคราะห์ได้ชัดเจน ชัดเจนมากๆWild Reeds (1994)
เราวิเคราะห์วรรณกรรม ไม่ใช่การเมืองนะWild Reeds (1994)
มาเรียนวิเคราะห์นิทาน ลาฟองแตนWild Reeds (1994)
ครูต้องการบทวิเคราะห์ที่ดีWild Reeds (1994)
เนี่อเยื่อของเหยื่อหายไปมาก ทําให้วิเคราะห์ละเอียดไม่ได้... เเต่สควอ ที่ก่อเหตุ น่าจะขนาดใหญ่กว่า... สควอปกติที่พบในน่านนํ้าเเถบนี่Jaws (1975)
คุณได้ทำการวิเคราะห์ สเปกตรัม? แน่นอนฉันมี2010: The Year We Make Contact (1984)
หากคุณได้ดำเนินการวิเคราะห์ สิ่งที่เป็นผลหรือไม่2010: The Year We Make Contact (1984)
คุณสามารถวิเคราะห์ภาพ ในการตรวจสอบวงจร 2? ใช่.2010: The Year We Make Contact (1984)
คุณอาจทำด้านวิเคราะห์โครงสร้าง ภูมิศาสตร์แบบใหม่ แบบล้ำยุค*batteries not included (1987)
ได้ ถ้าเราใช้ตัวอย่างครั้งสุดท้าย มาประกอบกับข้อมูลที่เราได้ ...และ ทดลองวิเคราะห์หลายทาง เพื่อความแน่นอนAkira (1988)
เรายังคงวิเคราะห์ พลังงานนั้นแต่...Akira (1988)
-ขอบคุณ สำหรับการวิเคราะห์ของคุณEvent Horizon (1997)
ถูกต้อง เธอวิเคราะห์ได้ถูกต้องดีแล้ว วิลล์ดีมากGood Will Hunting (1997)
ฉันต้องการวิเคราะห์ และแปลผล เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น... ที่เกี่ยวกับ การจำคุกของ เดเร็คAmerican History X (1998)
ฉันตัดสินใจที่จะวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการThe Red Violin (1998)
นี่เธอขอให้ฉันมาวิเคราะห์ สมองเพี้ยนของพี่ฉันงั้นหรอ?10 Things I Hate About You (1999)
ผมใส่แฟ้มรูปและผมก็วิเคราะห์มันหน่อยValentine (2001)
พวกเขาอายุ 30 ทำงานกับรหัสอะไรสักอย่าง พวกเขาวิเคราะห์เทพนิยายกรีก ก่อตั้งสมาคมลับ ให้พวกบ๊องไม่มีแฟนด้วยกันมาเข้าร่วมSigns (2002)
- ควงอยู่กับนักจิตวิเคราะห์Mona Lisa Smile (2003)
หนุ่มนักจิตวิเคราะห์ อีกแล้วMona Lisa Smile (2003)
ตอนนี้ผมวิเคราะห์ได้ว่านั่นเป็นแค่เงาสะท้อนของผม คุณพูดเรื่องอะไร?21 Grams (2003)
พวกเขามีหน้าที่วิเคราะห์รูปแบบ และรายละเอียดของอาชญากรGhost in the Shell (1995)
นั่งลง เราต้องการความช่วย เหลือด้วยการวิเคราะห์สเปกตรัมContact (1997)
เราจะวิเคราะห์ การปล่อยก๊าซDante's Peak (1997)
ทำการวิเคราะห์สารเคมี จนเย็นนี้Resident Evil: Apocalypse (2004)
ได้ผลวิเคราะห์ข้อมูลแล้วThe Day After Tomorrow (2004)
เรื่องนี้มีการวิเคราะห์กันรึยัง?The Bourne Supremacy (2004)
"ศูนย์วิเคราะห์ผู้มีจิตแปรปรวน" มันคืออะไรกันน่ะKung Fu Hustle (2004)
ถ้าเรากำลังหมายถึงการเป็นนักวิเคราะห์ที่เราต้องการจะทำงานชั้นบน!Cubeº: Cube Zero (2004)
- ฉันไม่รู้ นายต้องเอาไปวิเคราะห์ในแล็บPrimer (2004)
ฉันวิเคราะห์มันครั้งแล้วครั้งเล่า แล้วผลมันก็น่าจะถูกต้อง.Fantastic Four (2005)
เราจะตรงไปที่ห้องทดลอง เพื่อวิเคราะห์ความผิดปรกติของเรา.Fantastic Four (2005)
วิเคราะห์ทุกรายละเอียดก่อนที่เขาจะแก้ไขมัน.Fantastic Four (2005)
หนูกำลังวิเคราะห์ตัวเอกสุดโรแมนติก ในวรรณคดีค่ะThe Perfect Man (2005)
ฉันได้วิเคราะห์ สิ่งที่ได้อ่านมา และบอกได้ว่าพวกเราเจออะไรThe Cave (2005)
นี่ ฉันไม่ได้ต้องการใคร มาวิเคราะห์จิตใจฉันนะJust Like Heaven (2005)
อุปนิสัยคนเราน่ะ วิเคราะห์ได้ จากกรุ๊ปเลือดจริงๆนะคะMy Boyfriend Is Type-B (2005)
วิเคราะห์ข้อมูล.The Madagascar Penguins in a Christmas Caper (2005)
และด้วยความปราดเปรื่อง บวกกับการวิเคราะห์อันถี่ถ้วน ก็คุ้มค่ากับการค้นพบที่ยิ่งใหญ่Mission: Impossible III (2006)
มีคนวิเคราะห์ตลาดหุ้น หลังเหตุการณ์ 11กันยา... CIA ค้นพบว่า มีคนเทขายหุ้นของสายการบิน เป็นจำนวนมหาศาลCasino Royale (2006)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis
[botwikhrǿ] (n) EN: review ; analysis  FR: revue [ f ]
[dōi withī wikhrǿ] (adv) FR: analytiquement ; par la méthode analytique
[kān khit choēng wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical thinking
[kān wikhrǿ] (n) EN: analysis  FR: analyse [ f ]
[kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis
[kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis  FR: analyse qualitative [ f ]
[kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis  FR: analyse quantitative [ f ]
[kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis
[kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ]
[kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA)
[kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA)
[kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis
[kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis
[kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis
[kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis
[kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis
[kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis
[kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis
[kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis
[kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis  FR: analyse du comportement [ f ]
[kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ]
[kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ]
[kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis
[kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis
[kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis
[kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys
[kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis
[kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis
[kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis  FR: analyse économique [ f ]
[kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis  FR: analyse de marché [ f ]
[kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis  FR: analyse du coût [ f ]
[kān wikhrǿ tonthun lae phonprayōt] (n, exp) EN: cost-benefit analysis  FR: analyse coût-bénéfice [ f ] ; analyse coût-avantage [ f ]
[khēmīsāt wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical chemestry
[kīokap kān wikhrǿ] (adj) EN: analytical  FR: analytique
[nakkhēmī wikhrǿ] (n, exp) EN: chemical analyst  FR: chimiste analyste [ m ]
[nakwikhrǿ] (n) EN: analyst  FR: analyste [ m ]
[nak wikhrǿ khāo] (n, exp) EN: commentator ; news analyst  FR: commentateur [ m ] ; commentatrice [ f ]
[phon kān wikhrǿ] (n, exp) EN: result of the analysis  FR: résultats d'analyse [ mpl ]
[phū wikhrǿ] (n) FR: analyseur [ m ] (vx)
[rēkhākhanit wikhrǿ] (n, exp) EN: analytic geometry  FR: géométrie analytique [ f ]
[wikhrǿ] (v) EN: analyze ; consider ; ponder ; contemplate ; analyze chemically  FR: analyser ; considérer ; analyser chimiquement
[wikhrǿ sathānakān nai patjuban] (v, exp) EN: analyse the present situation
Longdo Approved EN-TH
(abbrev)การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม, มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร ย่อจาก hazard analysis critical control point
(n)วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
(n)วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ]
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ผลการวิเคราะห์
(n)นักวิเคราะห์Syn.examiner, investigator, interpreter
(n)นักวิเคราะห์ทางจิตSyn.psychoanalyst, psychiatrist
(adj)เกี่ยวกับการวิเคราะห์See Also:ซึ่งใช้การวิเคราะห์Syn.analytical, systematic
(n)วิเคราะห์วิทยา
(n)การวิเคราะห์อย่างละเอียด
(n)การวิเคราะห์ทางเคมี
(vt)วิเคราะห์See Also:ตรวจสอบSyn.test, analyze
(n)สารที่ใช้วิเคราะห์
(vi)วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ)
(vt)วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ)
(vt)ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษาSee Also:ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์Syn.dismember, operate anatomizeAnt.join, unite
(vi)ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษาSee Also:ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์Syn.dismember, operate anatomizeAnt.join, unite
(n)การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้นSee Also:วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข
(n)การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ)See Also:การสืบสวน, การวิเคราะห์Syn.inspection, examination, overhaul
(n)สิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้See Also:สิ่งที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้
(n)นักวิเคราะห์ข่าว
(vi)วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์)See Also:ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยคSyn.analyze
(vt)วิเคราะห์คำในประโยค (ทางไวยากรณ์)See Also:ตัดคำในประโยค, วิเคราะห์โครงสร้างประโยคSyn.analyze
(vt)รักษาด้วยวิธีจิตวิเคราะห์
(n)วิชาจิตวิเคราะห์Syn.psychoanalytic therapy
(vt)รักษาด้วยวิธีจิตวิเคราะห์
(n)นักจิตวิเคราะห์Syn.psychoanalyst
(n)การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ
(n)การวิเคราะห์หาปริมาณหรือจำนวณ
(vt)วิเคราะห์ (ปัญหา)Syn.analyze
(sl)การวิเคราะห์เชิงปริมาณSyn.quant
(sl)การวิเคราะห์เชิงปริมาณSyn.quan
(n)ผู้วิเคราะห์ตัวอย่าง
(vt)วิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี
(n)การวิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี
(n)ผู้วิเคราะห์See Also:ผู้พิจารณาSyn.experimenter, theorist, philosopher
(vt)วิเคราะห์See Also:ตรวจสอบSyn.investigate, research
(n)การวิเคราะห์See Also:การตรวจสอบSyn.investigation, inspection
Hope Dictionary
(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด.Syn.algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
(แอนนะไคล' ซิส) n. ขบวนการเลือกแบบหนึ่งทางจิตวิเคราะห์ โดยดูจากปมที่เกี่ยวกับตัณหา (livido) . -anaclitic adj.
(แอน' นะไลซ) vt. วิเคราะห์, แยกธาตุจำแนกแยกแยะ, วิภาค, วิเคราะห์
(อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาคSyn.anatomization, dissection
(แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์
(แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ.Syn.logical
(แอนนะลิท' ทิคซฺ') n. วิเคราะห์วิทยา
(อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด
(แอฟ'ฟะไนท) แร่หินอย่างละเอียดที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมันไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยตาเปล่า. -aphanitic adj. -aphanitism n. (a fine-grainedigneous rock)
(อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n.Syn.test, analyze, examination
vt. (การ) วิเคราะห์ทางชีวภาพของสาร
(ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์See Also:bioptic adj. ดูbiopsy
(เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง
vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออกSee Also:breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse
vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออกSee Also:breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse
(บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี
(บิวเรท') n. หลอดแก้วมีที่ปิดเปิดสำหรับวัดปริมาณเล็กน้อยของของเหลว/มีขีดบอกปริมาตรที่ข้างหลอด/ใช้ในการวิเคราะห์ทางเคมี
ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
(คอม'พละเคทิด) adj. ซับซ้อน, ยุ่งเหยิง, ยุ่งยาก, ยากที่จะวิเคราะห์ เข้าใจหรืออธิบายSee Also:complicatedness n. ดูcomplicatedSyn.complex
บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware
n. ผู้วิเคราะห์หรือแปล, ผู้ตีความหมายSee Also:constructionism n.
(คันสทรู') { construed, construing, construes } v., n. (การ) อธิบาย, ชี้แจง, ตีความอนุมาน, แปล, วิเคราะห์, ผูกประโยค.
(คริท'ทิค) n. นักวิจารณ์, ผู้วิเคราะห์, ผู้ติชม, ผู้ชอบนินทาSyn.connoisseur
(คริท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับการวิจารณ์, เกี่ยวกับการวิเคราะห์, ซึ่งติเตียน, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, เกี่ยวกับวิกฤติกาล, อันตราย, เกี่ยวกับจุดเปลี่ยนแปลงหรือจุดวิกฤตบนเส้นโค้งSee Also:criticalness n. ดูcriticalSyn.censor
(คริทิด') { critiqued, critiquing, critiques } n. บทวิจารณ์, บทวิจารณ์สั้น ๆ , วิธีการวิจารณ์. vt. วิจารณ์, วิเคราะห์
(ดิลิน'นีเอท) vt. วาดโครงร่าง, วาดเค้าโครง, วาดเป็นลายเส้น, พรรณนา, วิเคราะห์See Also:delineable adj. ดูdelineate
(ได'อักโนส) v. วินิจฉัย, ตรวจโรค, วิเคราะห์.See Also:diagnosable adj. ดูdiagnoseSyn.analyze
(ดิสเซคทฺ') vt. ชำแหละเพื่อศึกษา, ผ่า (ศพ, เนื้อเยื่อ) เพื่อศึกษา, ตัดกิ่ง ต้นดอกเพื่อศึกษา, จำแนก, วิเคราะห์.See Also:dissecter n. ดูdissect dissector n. ดูdissectSyn.cut apart, analye, anatomize
(เอลิซา) เป็นชื่อโปรแกรมประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) ที่มีชื่อเสียงมากโปรแกรมหนึ่ง กล่าวคือ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นให้ทำหน้าที่แทนจิตแพทย์ วิธีการก็คือ เราจะต้องพิมพ์ปัญหาของตัวเองใส่ลงในคอมพิวเตอร์ โปรแกรมนี้จะช่วยวิเคราะห์ปัญหา และแนะนำวิธีการแก้ปัญหาให้
(ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์
n. พระชั้นสูง, พระราชาคณะ, พระที่แปลหรือวิเคราะห์ ความหมายที่ลึกลับ.See Also:hierophantic adj.
การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น
(อินดีเทอ' มิเนท) adj. ไม่แน่นอน, ไม่จำกัด, ไม่แน่ชัด, คลุมเครือ, ยังไม่ตกลงใจ, ยังไม่ตัดสิน, ซึ่งไม่สามารถวิเคราะห์ได้สมบูรณ์โดยหลักของวิชาสถิติศาสตร์ (statics) .See Also:indeterminateness n.Syn.unfixed, indefinite
เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
(อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications)
หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า1. วิศวกรคอมพิวเตอร์ (computer engineer) ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเรื่องการบำรุงรักษาตัวเครื่อง หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับส่วนตัวเครื่อง (hardware) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) คือ ผู้ที่จะวิเคราะห์ระบบงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล3. นักเขียนชุดคำสั่งหรือผู้ทำโปรแกรม (programmer) คือผู้ที่จะเขียนคำสั่งต่าง ๆ ให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม4. ผู้ควบคุมเครื่อง (operator) คือผู้ที่จะบังคับควบคุมคอมพิวเตอร์ ด้วยการกดปุ่มบนแผงหน้าปัด ให้ทำงานตามคำสั่ง5. ผู้เตรียมข้อมูล (data entry operator) หมายถึงผู้ที่นำข้อมูลลงในสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แถบบันทึก จานบันทึกมีความหมายเหมือน peopleware
(มะนิพ'พิวเลท) vt. จัดการ, จับต้อง, ใช้, ยักย้าย, เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม. จัดดำเนินการหมายถึง การปรับข้อมูล เป็นต้นว่า ลบ เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม เพื่อหวังผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เพื่อการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ฯSee Also:manipulatable adj. manipulative adj. manipulatelyadv. manipulateness n.
(พาร์ส) vt. วิเคราะห์คำในไวยากรณ์See Also:parser n.
ส่วนบุคลากรในวงการคอมพิวเตอร์ หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น นักเขียนโปรแกรม (programmer) นักวิเคราะห์ระบบ (systems analyst) วิศวกร (engineer) ผู้เตรียมข้อมูล (data entry) รวมไปถึงผู้ควบคุมเครื่อง (operator) อย่างไรก็ตาม สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว คำว่า "ผู้ใช้เครื่อง" (user) จะถูกรวมอยู่ในบุคลากรคอมพิวเตอร์ด้วย
(ไซโคอะแนล'ลิซิส) n. จิตวิเคราะห์, การใช้จิตวิเคราะห์รักษา.See Also:psychoanalytical adj.
(เควส'ชะแนร์) n. แบบข้อคำถามที่สามารถนำมาวิเคราะห์หาข้อมูลที่มีประโยชน์
(รีเอ'เจินทฺ) n. สารเคมีที่ใช้ในการวิเคราะห์ทดลองและการสังเคราะห์ทางเคมี, ตัวกระทำ
(รีซอลว') vt., vi., n. (การ) ตกลงใจ, ตัดสินใจ, มีมติ, แยกออก, แยกวิเคราะห์ แยกสลาย n. การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่, มต'Syn.determine
วิศวกรรมย้อนกลับหมายถึง กระบวนการถอดรหัสโปรแกรม โดยไม่ต้องดูรหัสที่โปรแกรมนั้นใช้อยู่ แต่ถอดจากการวิเคราะห์แยกแยะว่าโปรแกรมนั้น ๆ มีผลกระทบทางด้านฮาร์ดแวร์อย่างไร ทำงานอย่างไร
(ริด'เดิล) n. ปัญหา, ปริศนา, คำปริศนา, สิ่งที่ทำให้ฉงน, ตะแกรง, กระชอนที่ร่อน, ตรวจสอบ, วิเคราะห์ vi. ทำให้พิศวงงงงวย, ออกปริศนา vt. แทงหรือเจาะเป็นรูพรุน, ร่อนด้วยตะแกรง, ทำให้เสื่อมSyn.puzzle, enigma, mystery
(สแคน) vt., vi. ตรวจอย่างละเอียด, มองกวาด, ดูผ่าน ๆ ตา, วิเคราะห์เสียงสัมผัสของบทกวี, อ่านบทกวีโดยพิจารณาเสียงสัมผัส, (โทรทัศน์, เรดาร์) กวาดภาพ ปรากฎภาพ.See Also:scannable adj. scanner n.Syn.inspect, scrutinize, peruse, glan
(ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์
(สทิว'เดินทฺ) n. นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ศึกษา, ผู้วิเคราะห์, ผู้สืบสวนสอบสวน, ผู้พิจารณา. adj. เกี่ยวกับนักเรียนหรือนักศึกษาSyn.learner, pupil, trainee
การวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้อุปกรณือิเล็คทรอนิคส์ช่วย
Nontri Dictionary
(vt)วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ
(n)วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์
(adj)เกี่ยวกับการวิเคราะห์
(adj)เกี่ยวกับการวิเคราะห์
(vt)วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ
(vt)วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย)
(n)การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์
(vt)พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์
(n)การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย
(vt)แปลความ, บรรยาย, อธิบาย, ขยายความ, ชี้แจง, ตีความ, วิเคราะห์
(n)นักวิจารณ์, นักวิเคราะห์, ผู้ติ
(n)การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์
(vt)วิจารณ์, วิเคราะห์, ติเตียน, จับผิด
(vt)วาดภาพ, วาดเค้าโครง, วาดลายเส้น, วิเคราะห์, พรรณนา
(n)การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา
(vt)พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค
(n)การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค
(adj)เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค
(vt)ผ่า, ตัดออก, ชำแหละ, วิเคราะห์, จำแนก
(n)การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก
(n)การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า
(n)สารประกอบที่ถูกวิเคราะห์ด้วยกระแสไฟฟ้า
(vt)สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์
(vt)กระจายคำ, วิเคราะห์คำ
(vi)ทำให้พิศวง, พูดเป็นปริศนา, ตรวจสอบ, วิเคราะห์, เลือกสรร
(vt)วิเคราะห์, พิจารณา, ดูผ่านตา
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(vt)กระบวนการวิเคราะห์
(n)กรรมวิธีในการวิเคราะห์ทางวิชาเคมี : เทคนิคสำหรับการแยกส่วนประกอบในสารผสม
การวิเคราะห์จำแนกประเภท
วิเคราะห์มากเกินไป
การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
(n)การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สเปกตรัม
(abbrev)SWOT คือ รูปแบบการวิเคราะห์ทางการตลาด เกิดจาก Strengths, Weaknesses, Opportunities และ ThreatsSyn.SWOT Analysis
การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
解析
[かいせき, kaiseki](n)การวิเคราะห์
解析する
[かいせきする, kaisekisuru](vt)การวิเคราะห์
費用便益分析
[ひようべんえきぶんせき, hiyouben'ekibunseki]การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์See Also:R. cost-benefit analysis
Longdo Approved DE-TH
(vt)|untersuchte, hat untersucht| ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์
(vt)|analysierte, hat analysiert| วิเคราะห์, ศึกษาหรือตรวจสอบคุณสมบัติหรือโครงสร้าง เช่น ein Problem analysieren วิเคราะห์ปัญหา
(vt)|wertete aus, hat ausgewertet| วิเคราะห์ออกมา, ประเมินผลออกมา เช่น Seine Gruppe wertete unter anderem aus, wie viele Patente die Unternehmensgründer zusammen mit Kollegen anmeldeten.
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ