(แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ
(อาน' เซอะ) n., vt., vi. คำตอบ, ผลลัพธ์, คำแก้ตัว, คำสนอง, ตอบ, สนอง, แก้ตัว.
ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU)
หน่วยประมวลผลกลางนิยมใช้ตัวย่อว่า CPU (ซีพียู) หมายถึง ส่วนที่เป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนที่เรียกว่าตัวประมวลผล (microprocessor) และหน่วยความจำ ประกอบด้วยชิป (chip) ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำ คัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่ใช้ทำหน้าที่ในการประมวลผล หรือทำการคำนวณ เมื่อทำการประมวลผล หรือคำนวณในส่วนนี้เสร็จแล้ว ก็จะถ่ายโอนผลลัพธ์ที่ได้ไปไว้ในส่วนอื่นอีกชั้นหนึ่ง ดู input unit และ output unit ประกอบ
(คอน'ซะเควินซฺ) n. ผลลัพธ์, ผลที่ตามมา, ผลที่เกิดขึ้นภายหลัง, ความสำคัญ -Phr. (in consequence ผลก็คือ), Syn.result, effect, Ant.antecedent, cause
(คอนซะเควน'เชิล) adj. เกี่ยวกับผลที่ตามมา, เกี่ยวกับผลลัพธ์, อวดดี, วางท่า, See Also:consequentiality n. ดูconsequential consequentialness n. ดูconsequential, Syn.important, eventful
ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ
(ดิสเพล') vt. แสดง, เปิดเผย, โอ้อวด, แผ่ออก, เรียงพิมพ์ให้เด่นชัด n. การแสดง, การโอ้อวด, สิ่งที่แสดงให้เห็นชัด, นิทรรศการ, Syn.exhibit แสดงผลหน่วยแสดงผลหมายถึงการแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยแสดงผลก็คือจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง นอกจากนั้น การแสดงผลอาจแสดงได้ทางเครื่องพิมพ์ printer, พล็อตเตอร์ plotter ฯ
(อีดีพี) ย่อมาจาก electronic data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว แล้วแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง
การประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า EDP (อ่านว่า อีดีพี) หมายถึงการใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (ซึ่งก็คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ นั่นเอง) ทำการประมวลผลข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างรวดเร็ว และแสดงผลลัพธ์ให้ตามที่สั่ง
รหัสแก้ความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่สามารถช่วยแก้ไขข้อผิดพลาด ซึ่งอาจเกิดขึ้นในขณะอ่านข้อมูล ส่งข้อมูล และพิมพ์ผลลัพธ์ การค้นพบนี้จะอาศัยการใช้บิตเสริม (parity bit) พิเศษในข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจะชี้ไปที่บิตที่มี ความผิดพลาด และจะเปลี่ยนค่าจาก 0 เป็น 1 หรือ 1 เป็น 0 ให้
หรือใช้ตัวย่อว่า XOR (อ่านว่า ซอร์) เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมใช้ เมื่อจะสั่งให้แสดงภาพออกมาเป็นตัวดำเนินการเชิงตรรกะตัวหนึ่ง ซึ่งใช้เลขฐานสอง สองตัวมาทำให้เกิดเป็นค่าใหม่ ถ้าในการคำนวณได้ผลลัพธ์เป็น 0 แสดงว่าคอมพิวเตอร์คำนวณได้ผลออกมาเหมือนกัน แต่ถ้าค่าออกมาไม่เท่ากัน ผลลัพธ์จะออกมาเป็นหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องเข้าใจเรื่องตรรกะนี้ก็ได้
สำเนาถาวรสิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ
เป็นชาวอเมริกัน เกิด ค.ศ.1860 ตาย ค.ศ.1929 เป็นผู้คิดเอาวิธีนำเอาระบบบัตรเจาะรูมาใช้ในการบันทึกข้อมูลลงในบัตร โดยเลียนแบบจากบัตรของแจ็กการ์ด (Jacquard) ซึ่งเคยใช้วิธีการนี้ควบคุมการให้ลายและพิมพ์สีลงบนผ้า ฮอลเลอริทได้สร้างรหัสสำหรับบัตรเจาะรูขึ้น แล้วจึงนำข้อมูลถ่ายลงบนบัตรเพื่อนำไปให้เครื่องคอมพิวเตอร์อ่าน เครื่องมือประดิษฐ์ของฮอลเลอริทนี้ได้นำมาใช้ในงาประมวลผลและรายงานผลสำมะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1890 ซึ่งทำให้ทราบผลลัพธ์เร็วขึ้นมาก โดยสามารถทำเสร็จภายในเวลาเพียง 2 ปีเท่านั้น ในปัจจุบัน การเจาะบัตรเพื่อส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์นั้นเกือบจะไม่มีแล้ว เพราะล้าสมัย
(อินคลูซีฟ ออร์) และ/หรือเป็นตัวดำเนินการ (operator) ตัวหนึ่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ใช้มากในคำสั่งที่เกี่ยวกับการเขียนภาพ ผลลัพธ์ของ inclusive OR จะเห็นได้จากตารางที่แสดง 1 คือจริง (true) และ 0 คือ เท็จ หรือ (false) ถ้าไม่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำสั่งนี้ก็ได้
เครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง
(อินเทอบรีด') v. ทำให้ผสมพันธุ์กันระหว่างพันธุ์ต่าง ๆ , ทำให้ผสมพันธุ์กัน. ภาวะเชิงโต้ตอบหมายถึง ภาวะการตอบโต้อย่างทันทีทันควัน เช่น การพิมพ์ป้อนโปรแกรมภาษาเบสิกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าพิมพ์ผิด ก็จะมีรายงานบนจอภาพทันที ผิดกับการใช้โปรแกรมบางภาษาที่ไม่สามารถโต้ตอบได้ ต้องรอจนจบโปรแกรมก่อน จึงจะโต้ตอบ หรือรายงานข้อผิดพลาด หรือหาผลลัพธ์ ให้คำตอบได้
(จาวา, ชวา) 1. ชื่อเกาะชวาของประเทศอินโดนีเซีย 2. เป็นชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม บริษัท ซัน ไมโครซิสเต็ม เป็นผู้คิดขึ้น เพื่อใช้เกี่ยวกับการส่งออกผลลัพธ์จากการคำนวน ให้กันและกันเพราะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน มีลักษณะคล้ายกับ ภาษา C++
กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น
(ออพ'ทะมัม) n. ภาวะที่ดีที่สุด, ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด adj. ดีที่สุด pl. optima, optimums, Syn.optimal, best
(เอาทฺ'คัม) n. ผลลัพธ์, ผล, ทางออก
อุปกรณ์ส่งออกอุปกรณ์แสดงผลหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ
เครื่องเจาะแถบกระดาษเครื่องเจาะเทปกระดาษหมายถึง เครื่องเจาะแถบกระดาษให้เป็นรู เพื่อแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เครื่องเจาะนี้จะต้องได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) มีความเร็วในการเจาะประมาณ 15 - 150 แถวต่อวินาที ดู paper tape ประกอบ
การทำงานแบบสายท่อหมายถึง วิธีการเชื่อมโยงสองโปรแกรมหรือกว่านั้นเข้าด้วยกัน โดยกำหนดให้ผลที่เกิดจากการประมวลผลในโปรแกรมแรก เป็นตัวกำหนดเรียกโปรแกรมที่สอง (หมายความว่า โปรแกรมที่สองจะเป็นโปรแกรมใด ขึ้นกับผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลในโปรแกรมแรก) การประมวลผลในโปรแกรมที่สองก็จะเรียกโปรแกรมต่อไป วิธีการนี้ใช้ในระบบยูนิกซ์ (UNIX) และ ดอส (DOS)
หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storageดู secondary storage เปรียบเทียบprint : พิมพ์หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้จากคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ หรือแผ่นใส ฯ กับใช้เป็นรายการคำสั่งในโปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรม ที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำการดังกล่าว ซึ่งมักจะมีคำถามตามมาอีกหลายคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เป็นต้นว่า พิมพ์กี่ชุด พิมพ์หน้าไหนบ้าง ขยายหรือย่อขนาดกี่เปอร์เซ็นต์ ฯ รวมทั้งเป็นคำสั่งในโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ เกือบทุกภาษาด้วย
(โคว'เชินทฺ) n. ผลหาร, ผลลัพธ์ของการหาร
การประมวลผลแบบทันทีหมายถึง ระบบการประมวลผลข้อมูลที่ทำในทันทีที่ข้อมูลถูกส่งเข้า เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมาทันทีเพื่อจะได้สั่งการอย่างหนึ่งอย่างใดหรือควบคุมได้ เช่น การประมวลผลของเครื่องถอนเงินด่วนตามธนาคารต่าง ๆ (ATM) ซึ่งให้บริการการฝากถอน ทำให้ผู้ใช้บริการทราบผลในทันที เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะตรวจสอบให้ในทันทีว่า รหัสถูกต้องหรือไม่ มีเงินพอหรือไม่ ฯ ถ้ามีพอ ก็สั่งปฏิบัติการ คือจ่ายเงินให้เลย การจองตั๋วเครื่องบิน ก็มีลักษณะเป็นแบบทันทีนี้เช่นกัน ส่วนการประมวลผลที่ไม่ต้องทำทันที เรียกว่า "การประมวลผลเชิงกลุ่ม" (batch processing) หมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับ มีระบบปฏิบัติการเป็นตัวควบคุม การประมวลผลแบบนี้ มักจะเป็นงานใหญ่ ๆ จะต้องมีการรวบรวมข้อมูลให้เรียบร้อยก่อน จึงจะส่งเข้าประมวลผล คอมพิวเตอร์จะทำการประมวลผลให้ตามลำดับก่อนหลัง หรือลำดับความสำคัญ วิธีการนี้ประหยัดกว่า แต่ช้าและไม่ทันใจดู batch processing เปรียบเทียบ
(รีซัลทฺ') vi. เป็นผล, ลงเอย, n. ผล, ผลลัพธ์, ผลที่ตามมา, คำตอบ, มติ
(รีซัล'เทินทฺ) adj. ซึ่งเป็นผล, ซึ่งบังเกิดผล, เป็นผลมาจาก, รวมกัน, เป็นผลลัพธ์ n. (คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์) vector (ดู) ที่แสดงผลลัพธ์, ผลลัพธ์
หน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ
(ซี'เควล) n. บทต่อเนื่อง, เรื่องที่ต่อเนื่อง, สิ่งที่ตามมาทีหลัง, ผลที่ตาม, ผล, ผลลัพธ์, ผลสืบเนื่อง, การอนุมาน, Syn.upshot, consequence
(ซี'เควินทฺ) adj. ต่อเนื่องกัน, ติดต่อกัน, ตามลำดับ, ตามมา, เป็นผลที่ตามมา n. สิ่งที่ตามมา, ผลลัพธ์, ผล, See Also:sequently adv.
(ซีเควน'เชิส) adj. ต่อเนื่องกัน, ติดต่อกัน, ที่ตามมา, เป็นผลลัพธ์, เป็นผลที่สุด, See Also:sequentiality n.
การประมวลผลแบบลำดับหมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ
สำเนาชั่วคราวหมายถึง ผลลัพธ์จากการประมวลผลที่แสดงผลของการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎบนจอภาพ ผลลัพธ์นี้ยังสามารถแก้ไขได้ง่าย ต่างกับ hard copy ซึ่งหมายถึงสำเนาถาวร หรือผลลัพธ์ที่พิมพ์ลงบนกระดาษพิมพ์แล้วที่เรียกว่าสำเนาถาวรดู hard copy เปรียบเทียบ
ผู้ใช้เครื่องปลายทางหมายถึง ผู้ที่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านเครื่องปลายทาง ซึ่งอาจเป็นทั้งผู้ป้อนข้อมูลเข้า และผู้รอรับผลลัพธ์จากการแสดงผลดู terminal ประกอบ
(เทรน) n. รถไฟ, ขบวน, ผลลัพธ์, ส่วนท้าย vt., vi. ฝึก, ฝึกหัด, ลาก, ดึง, เส้น, See Also:trainable adj.
วีดียูย่อมาจาก visual display unit (แปลว่า จอภาพ) เป็นที่ใช้แสดงข้อมูลและผลลัพธ์ โดยปกติ จะต้องเชื่อมต่อกับแผงแป้นอักขระ (keyboard) และเมาส์ (mouse) ซึ่งใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูล มีความหมายเหมือน monitor
หน่วยจอภาพใช้ตัวย่อว่า VDU (อ่านว่า วีดียู) หมายถึงจอภาพ ซึ่งใช้เป็นที่ใช้แสดงข้อมูลและผลลัพธ์ โดยปกติ จะต้องเชื่อมต่อกับแผงแป้นอักขระ (keyboard) และเมาส์ (mouse) ซึ่งใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูล มีความหมายเหมือน monitor