(กฺรีทา) ก. เคลื่อน, ยก, เดินทางเป็นหมู่เป็นกระบวน, (ใช้ในการยกทัพ).
ก. ทำพิธีข่มชื่อศัตรูก่อนยกทัพ.
ก. ยกทัพไปตั้งชั่วคราว กันไม่ให้ข้าศึกรุกลํ้าเข้ามา
ก. ยกทัพ, เคลื่อนกองทัพเข้าโจมตีข้าศึก.
น. เรียกตัวแสดงโขนพวกหนึ่งซึ่งเป็นพลรบ มีหน้าที่ออกเต้นในเวลายกทัพ ว่า พลเขน, เรียกอาการเต้นของพลเขน ว่า เต้นเขน.
ก. อาการเต้นของพลรบที่เป็นมนุษย์ ยักษ์ และลิง ที่ออกเต้นเป็นจังหวะเข้ากับปี่พาทย์ในการเล่นโขนเมื่อเวลาเริ่มยกทัพ.
น. ตำแหน่งแม่ทัพพม่า เช่น ให้มางจาชโร เปนโบชุกที่สอง ยกทัพรองไปตาม (ตะเลงพ่าย).
ก. โดนกัน, กระทบกัน, เช่น เรือปะทะกัน ข้างเรือปะทะกัน, ประจัญกัน เช่น กองทัพปะทะกัน, ต้านไว้ เช่น ยกทัพไปปะทะข้าศึก.
(มาน-) ก. มารยกทัพมารบ, มารที่ยกทัพมาขัดขวางการบำเพ็ญเพียรของพระพุทธเจ้า
เคลื่อนไป, พากันไป, เช่น ยกทัพ ยกพวก
ก. เพ่งดูเมฆเมื่อเห็นเป็นรูปอะไรแล้ว ก็ถือเป็นนิมิตเพื่อทำนายว่าดีหรือร้าย เช่นในเวลาจะยกทัพ ถ้าเห็นเมฆเป็นรูปพระนารายณ์ ก็ถือว่าเป็นนิมิตที่ดี ควรยกทัพได้ เช่น ตรงเข้าไปในป่าแล้วปลุกตัว เป่าทั่วด้วยคาถาประกาศิต ขยับยืนยกเมฆดูนิมิต เห็นรูปนารายณ์เรืองฤทธิ์ติดอัมพร (ขุนช้างขุนแผน), ถ้าเห็นเมฆเป็นรูปคนหัวขาดหรือแขนขาดขาขาด เป็นนิมิตไม่ดี ไม่ควรยกทัพ แม้ผู้ทรงวิทยาคุณอาจบริกรรมต่อหัวหรือแขนขาให้สมบูรณ์ได้ ถึงกระนั้นก็ไม่ถือว่าเป็นนิมิตที่ดี ไม่ควรยกทัพ เช่น กอดอกยกเมฆดูนิมิต ก็วิปริตเป็นรูปคนหัวหาย จะยกต่อคอแขนไม่ติดกาย เถนสำคัญมั่นหมายไม่คืนมา (ขุนช้างขุนแผน)
ก. รบ เช่น ยกทัพไปราวีข้าศึก, รบกวนหรือระรานโดยใช้กำลังรังแกเป็นต้น เช่น อันธพาลชอบราวีชาวบ้าน, (ปาก) สู้กัน, ตะลุมบอนกัน, เช่น นักเรียนกำลังราวีกัน.
ก. ยกทัพกลับ เช่น ไพรีมิได้แจ้งแห่งยุบล ให้เลิกทัพกลับพลรีบหนีไป (เพลงในละครเรื่องสามก๊ก).