273 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*มนู*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: มนู, -มนู-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
trade terms
[เทรด เทอมส](n)"ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เสรีภาพแห่งการพอเพียง
[พอเพียงเพื่อเสรีภาพ](n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq)เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)menuSyn.รายการอาหารExample:เมนูเด็ดของร้านนี้คือต้มยำกุ้งNotes:(อังกฤษ)
(n)charterSee Also:constitution, code, covenant, compact, contractSyn.กฎหมายธรรมนูญUnit:บท, มาตราThai Definition:กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรNotes:(บาลี, สันสกฤต)
(n)constitutionExample:ตามรัฐธรรมนูญไทย รัฐกับศาสนามิได้แยกจากกัน และรัฐมีหน้าที่ต้องดูแลศาสนาด้วยUnit:ฉบับ
(n)The Judge Advocate General's DepartmentSyn.ธน.Example:กรมพระธรรมนูญมีผู้บังคับบัญชาเป็นหัวหน้าเหล่ายศพลโทThai Definition:หน่วยงานที่ขึ้นตรงสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม มีหน้าที่เกี่ยวกับศาลทหาร อัยการทหาร นายทหารพระธรรมนูญ ราชการในส่วนธุรการและวิชาการที่เกี่ยวกับกฎหมายและสังคมศาสตร์ มีเจ้ากรมพระธรรมนูญเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
(n)constitutional courtExample:หากส.ส. คนใดต้องการอุทธรณ์ รัฐธรรมนูญเปิดช่องให้อุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ภายใน 30 วัน
(n)draft of a constitutionSee Also:constitutional draftExample:พรรคสามัคคีธรรมดำเนินการเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้านและต่อต้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้อย่างเปิดเผยUnit:ฉบับThai Definition:เค้าโครงของรัฐธรรมนูญ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย.
น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม.
น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ.
น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ.
น. ชื่อคัมภีร์กฎหมายมนูธรรมศาสตร์ฉบับย่อ.
น. ชื่อพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก มี ๑๔ องค์ เรียงกันเป็นยุค ๆ ไป, ยุคหนึ่งเรียกว่า มนวันดร นานกว่า ๔, ๐๐๐, ๐๐๐ ปี องค์แรก คือ พระสวายมภูวะ พระมนูองค์นี้ถือกันว่าเป็นผู้ทรงออกกฎหมายหรือธรรมศาสตร์ซึ่งยังมีอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้เรียกว่า มนุสัมหิตา หรือ มนุสมฺฤติ, เพราะฉะนั้น คำ มนู จึงหมายถึงกฎหมายก็ได้ เช่น มนูกิจ.
(รัดถะทำมะนูน, รัดทำมะนูน) น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ กำหนดรูปแบบและระบอบการปกครองของประเทศ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กร และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร.
น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม.
น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ.
น. กฎหมายที่วางระเบียบโครงสร้างและการปกครองของรัฐหรือการบริหารราชการแผ่นดิน รวมตลอดทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง.
เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง.
น. ไม้สำหรับสงฟางในเวลานวดข้าว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตักและไม้กระดองหาย (ลักษณะธรรมนูญ), ดอง ดองหาย ดองฉาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก.
น. ประตัก คือ ไม้ที่ฝังเหล็กแหลมข้างปลาย ใช้แทงสัตว์พาหนะเช่นวัว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตัก (ลักษณะธรรมนูญ).
น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ.
น. กะลามะพร้าวที่มีปุ่มนูนเป็นรูปสามเส้า ใช้สำหรับทำซอสามสาย, เรียกลักษณะของหัวกะโหลกศีรษะที่เป็นรูปอย่างนั้น.
(กานละ-, กาละ-) น. ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น.
น. ส่วนสำคัญของตาที่ทำให้แลเห็น, ส่วนใสของดวงตามีรูปกลมนูนทั้ง ๒ ข้าง ลักษณะใส แต่พื้นหลังนูนออกมากกว่าพื้นหน้า ตั้งอยู่ภายในดวงตา (ข้างหลังกระจกตา กั้นอยู่ระหว่าง posterior chamber กับ vitreous body ของดวงตา)
น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน.
น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ.
น. เครื่องตีชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะผสม รูปร่างเป็นแผ่นวงกลมมีปุ่มนูนกลมตรงกลางสำหรับตี มีขอบยื่นลงมารอบตัว เรียกว่า ใบฉัตร มีหลายชนิด เช่น ฆ้องกระแต ฆ้องชัย ฆ้องวง.
ว. กลมนูนอย่างปุ่มฆ้อง.
น. เครื่องตีกำกับจังหวะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปร่างเป็นแผ่นกลมคล้ายจาน มีปุ่มนูนขึ้นตรงกลาง เจาะรูกลางปุ่มร้อยเชือกหรือเส้นหนังสำหรับจับ มี ๒ ขนาด คือ ขนาดเล็ก เรียกว่า ฉาบเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑๒-๑๔ เซนติเมตร และขนาดใหญ่ เรียกว่า ฉาบใหญ่ กว้าง ๒๔-๒๖ เซนติเมตร.
น. ชื่อพยาธิตัวกลมชนิด Gnathostoma spinigerum Owen ในวงศ์ Gnathostomatidae ลำตัวสีแดง ยาว ๑๐-๕๐ มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยพบในกระเพาะของสุนัข แมว และเสือ ตัวอ่อนพบในปลา ไก่ กบ หรือสัตว์เลื้อยคลาน ติดต่อถึงคนได้ เมื่อกินเนื้อสัตว์เหล่านี้ที่ยังดิบซึ่งมีตัวอ่อนของพยาธิชนิดนี้อยู่ ตัวอ่อนเมื่ออยู่ในคนสามารถเคลื่อนตัวไปตามเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ได้ อาจเป็นตุ่มนูนขึ้นมาตามผิวหนัง ทำให้บวมและปวด, หนอนด้น ก็เรียก.
ก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒).
น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum paniculatum L. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามที่ชุ่มชื้น ที่โคนใบมีต่อมนูนหลายต่อม ดอกสีแดงอมส้ม ออกเป็นช่อตามยอด ผลเล็ก มี ๔ พู ใช้ทำยาได้, พนมสวรรค์ ก็เรียก.
น. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือการละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งอำนาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องต่อศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญเมื่อเห็นว่ากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำใดของบุคคลใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ.
น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ.
น. จุด หรือตุ่มนูนที่มีสีดำหรือแดงขึ้นอยู่คงที่ตามตัว แต่ขนาดอาจเปลี่ยนได้.
บทบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน.
น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ.
น. มนู.
น. “ผู้เกิดจากมนู” คือ คน.
น. ปุ่มนูนของขมวดผมบนเศียรพระพุทธรูป.
ก. ลงนามที่จะปฏิบัติตามพระบรมราชโองการเพื่อให้เป็นพระบรมราชโองการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ.
น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด.
ก. บังคับเอาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นของเอกชนคืนมาเป็นของรัฐโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยรัฐต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม.
น. ศาลที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหาร เช่น ทหารพลเรือนที่สังกัดอยู่ในราชการทหาร.
น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร.
น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด.
น. รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดำเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอำนาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น.
(สิดทิ, สิด) น. อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.)
(องคะ-) น. ตำแหน่งที่มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ.
องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยประกอบด้วยคณะกรรมการอัยการ อัยการสูงสุด และพนักงานอัยการอื่น โดยมีสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยธุรการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครอง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ตรวจร่างสัญญาและเอกสารทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย เรียกว่า องค์กรอัยการ, เดิมเรียกว่า กรมอัยการ, ถ้าหมายถึงเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เรียกว่า พนักงานอัยการ หรือ ข้าราชการอัยการ, โบราณเรียกว่า พนักงานรักษาพระอัยการ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม (ไทย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. คนในบังคับ (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. เรื่อง (ก. ทั่วไป)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ และ ก. ปกครอง)๒. มั่วสุม (ก. อาญา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. เจ้ากรมพระธรรมนูญทหารบก๒. เจ้ากรมพระธรรมนูญ (ไทย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เจ้ากรมพระธรรมนูญทหารเรือ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เจ้ากรมพระธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ปัญหา (ก. ทั่วไป)๒. กระทู้ถาม (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายหลักพื้นฐาน (รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ค.ศ. ๑๙๔๙)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ตั๋วเงิน (ก. แพ่ง)๒. ใบแจ้งหนี้ (ก. แพ่ง)๓. ร่างกฎหมายที่เสนอสภา (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. แมนูเบรียม [ สาหร่ายไฟ ]๒. กาบเขียง [ มีความหมายเหมือนกับ cymba ][พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
๑. ฝ่ายข้างน้อย (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. ภาวะผู้เยาว์ (ก. แพ่ง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. นิติภาวะ (ก. แพ่ง)๒. เสียงข้างมาก (ในการประชุมบริษัท) (ก. พาณิชย์)๓. เสียงข้างมาก, ฝ่ายข้างมาก (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. รัฐมนตรี (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. อัครราชทูต (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ศาสนาจารย์ (ก. ปกครอง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สิทธิตามรัฐธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐธรรมนูญนิยม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[ ดู constituent assembly ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [ ดู constituent assembly ][นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กฎหมายรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎหมายรัฐธรรมนูญ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี) (ก. รัฐธรรมนูญ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ลัทธิที่ขัดขวางการใช้สิทธิของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ (ก. อเมริกัน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การประชุมร่วม (ของผู้แทนองค์กรต่าง ๆ) (ก. ปกครอง)๒. การประชุมของคณะกรรมาธิการร่วมระหว่างสองสภา (ก. รัฐธรรมนูญ)๓. การปรึกษาระหว่างลูกความกับทนายความ (ป. วิ. อาญา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อำนาจเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐธรรมนูญ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เมนูสี[คอมพิวเตอร์]
ประติมากรรมนูนต่ำ[TU Subject Heading]
จารีตและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
การแก้ไขรัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
ศาลรัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
ประวัติรัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
กฎหมายรัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
รัฐธรรมนูญ[TU Subject Heading]
การออกแบบเมนู[TU Subject Heading]
ประติมากรรมนูน[TU Subject Heading]
ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1998)[TU Subject Heading]
ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment[การทูต]
การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946[การทูต]
ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน[การทูต]
ลักษณะเป็นตุ่มนูนแบบลูกประคำ[การแพทย์]
ลักษณะเฉพาะตน, ธรรมนูญ[การแพทย์]
อีริทีมาโนโดซุม, โรค, อีริย์ธีมาโนโดซัม, ตุ่มนูนแดงและกดเจ็บ, อีริธีมาโนโดซุม[การแพทย์]
ผิวหนังเป็นตุ่มนูนแดง[การแพทย์]
ปุ่มนูนกระดูกคออันที่6หัก[การแพทย์]
รอยบวมแข็ง, ตุ่มนูนแข็ง, แข็ง, การบวมปูด, อาการบวม, รอยนูนที่แดง[การแพทย์]
โมนูรอน[การแพทย์]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
- พวกเขาไม่ได้อยู่กับเราอีกต่อไป ฉันอยากเมนู 'ช่วยเหลือ'Pulp Fiction (1994)
ออกแบบเมนู แล้วก็... บริษัทเพลงเล็ก ๆHeat (1995)
ฉันอยากได้รับความเห็นชอบจากคุณเรื่องเมนูก่อนRebecca (1940)
จำเลยไม่ได้มีการเปิดปากของเขา ที่อยู่ในรัฐธรรมนูญ12 Angry Men (1957)
ขอโทษนะ เมนูนี้Help! (1965)
ที่นี่มันดีตรงไหนนะ เมนูยังไม่มีให้เลย*batteries not included (1987)
อยากได้เมนูเหรอเพื่อน เอาไปทำไม แกจะได้จานพิเศษอยู่แล้ว*batteries not included (1987)
ใครอยากถ่มน้ำลายรดรัฐธรรมนูญ ของสหรัฐอเมริกาบ้างField of Dreams (1989)
ตรงนั้นเหรอ หัวมุมนู้นGoodfellas (1990)
เขากำลังทำสิ่งที่ไม่เหมาะสมในศาล ผมมีสิทธิ์พูดเพื่อแก้ต่างให้ตัวเองครับท่าน ตามรัฐธรรมนูญของสหรัฐนี่เป็นเนื้อหาสาระGood Will Hunting (1997)
เดียวกันว่าด้วยการประกันเสรีภาพของผม ไม่ต้องยกรัฐธรรมนูญมาพูดกับผมเลยGood Will Hunting (1997)
ปุ่มนู้น ปุ่มบนโว้ย!American History X (1998)
แก้ไขเล็กน้อย เหมือนรัฐธรรมนูญไงThe Story of Us (1999)
ไม่มีอะไร กลิ่นเมนู-ตก-งานหอมจัง \ อะไรนะDeath Has a Shadow (1999)
คนที่นั่งมุมนู้น เขาเป็นใครThe Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001)
ขอเมนูด้วยคะAll About Lily Chou-Chou (2001)
ฝ่ายก่อตั้งรัฐธรรมนูญของยูไนเต็ด สเตท ปะทะกับศัตรู /ทั้งชาวต่างชาติ และบุคคลในประเทศThe Notebook (2004)
ตอนนี้ผมเองก็กำลังคิดเมนูแบบใหม่อยู่Rice Rhapsody (2004)
นี่หนู ทำไมเธอถึงสั่งแต่เมนูเดิมๆ ที่เป็นราคาประหยัดล่ะSpygirl (2004)
เมนูใหม่ของเรามั๊ยคะ เป็นเบอร์เกอร์สลัดจานพิเศษSpygirl (2004)
- เมนูนั่นค่ะMr. Monk Takes His Medicine (2004)
แล้ว อร่อยไหม ผมหมายถึงเป็นเมนูที่คนสั่งกันเยอะตลอดเลยไหมMr. Monk Takes His Medicine (2004)
ใช้ได้เฉพาะวันธรรมดา และรวมถึงเมนูกุ้งมังกรด้วยMr. Monk and the Employee of the Month (2004)
คุณจะเอนตัวท่าไหนก็ได้ตามที่ต้องการ มันอยู่ในหนังสือรัฐธรรมนูญMr. Monk and the Game Show (2004)
ผมคิดไม่ออกว่ารัฐธรรมนูญข้อไหนกัน ที่คุณอ้างถึงMr. Monk and the Game Show (2004)
โอ ขอเมนูไวน์ด้วยMatch Point (2005)
ไม่ต้องห่วงน่า ผมน่ะเก่งเรื่องซ่อมนู่นซ่อมนี่จะตายไปMy Boyfriend Is Type-B (2005)
ไปที่เมนูย่อย3ของมือถือคุณDay 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006)
เข้าเมนูย่อยแล้ว / ใส่รหัส 6 3 3 9Day 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006)
แม้ว่าฉันจะทำทุกจานของเมนูของฉัน...Heavenly Forest (2006)
มนุษย์สามารถเรียกร้องอะไรเกือบละเมิดสิทธิรัฐธรรมนูญของเขา.English, Fitz or Percy (2005)
แหงล่ะ มันอยู่ในเมนูตอนนี้แล้วDistant Past (2007)
ตอนนี้เค้ารวมอยู่ในเมนูด้วยแล้วFamily/Affair (2007)
ก็มากพอที่จะรู้ว่ามันไม่มีในเมนูล่ะPilot (2007)
พวกเขาแต่รอให้โคชินิต้า พิบิล เป็นเมนูพิเศษNo Such Thing as Vampires (2007)
เมนูเยอะ บริการดี บรรยากาศบ้านๆBad Day at Black Rock (2007)
ภาษาอังกฤษรัฐธรรมนูญSex Trek: Charly XXX (2007)
คุณรู้ว่าสิ่งรัฐธรรมนูญคืออะไร นั่นเป็นซิการ์ ไม่ได้หรือไม่Sex Trek: Charly XXX (2007)
คนที่รู้ว่าสิ่งที่รัฐธรรมนูญเป็นSex Trek: Charly XXX (2007)
พวกลูกค้ารู้จักเมนูเก่า พวกเขาชอบซุปของลิงกวินี่Ratatouille (2007)
อาหารพิเศษที่ไม่มีอยู่ในเมนูRatatouille (2007)
อะไรซักอย่าง... จากเมนูเราRatatouille (2007)
เธอแน่ใจเหรอ ว่าจะทำอาหารเมนูนี้ให้อีโก้ชิมน่ะ?Ratatouille (2007)
ฉันจะมาอีกที เมื่อไหร่ที่คุณมีผู้พิพากษาอยู่ในเมนู...Sweeney Todd: The Demon Barber of Fleet Street (2007)
เมนู ใช่ ขอยคุณNext (2007)
แต่ยังไงก็ตาม ขนมอบ กับ เค็ก ก็อร่อยดีนะ และถ้าคุณโทรมาล่วงหน้า คุณนายคลาร์คบอกว่า เธอจะอบเค้กช๊อคโกแล๊ต เมนูเด็ดให้เป็นพิเศษ1408 (2007)
คุณรู้ไหมว่ารัฐธรรมนูญกี่ข้อ ที่เรารับมาจาก มอนเตคิว ของคุณ?National Treasure: Book of Secrets (2007)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[jēttanārom ratthathammanūn] (n, exp) EN: spirit of the constitution  FR: esprit de la constitution [ m ]
[kaē ratthathammanūn = ratthammanūn] (v, exp) EN: amend a constitution  FR: modifier la constitution ; amender la constitution
[khlik mēnū] (v, exp) FR: cliquer dans le menu
[kotmāi prakøp ratthathammanūn] (n, exp) EN: Organic Law
[kotmāi ratthathammanūn = kotmāi ratthammanūn] (n, exp) EN: constitutional law
[kotmāi ratthathammanūn prīepthīep] (n, exp) EN: comparative constitutional law
[kotmāi thammanūn] (n, exp) EN: charter  FR: charte [ f ]
[mēnū] (n) EN: menu  FR: menu [ m ]
[mēnū āhān] (n, exp) EN: menu  FR: menu [ m ]
[phrathammanūn sān yuttitham] (n, exp) EN: law on court oranization ; basic law on the judiciary
[rāng ratthathammanūn = ratthammanūn] (n, exp) EN: draft of a constitution ; constitutional draft ; draft charter  FR: projet de constitution [ m ]
[ratthathammanūn = ratthammanūn] (n) EN: constitution  FR: constitution [ f ]
[ratthathammanūn chaphǿkān] (n, exp) EN: provisional constitution  FR: constitution provisoire [ f ]
[rūplāilīem nūn] (n, exp) EN: convex polygon  FR: polygone convexe [ m ]
[sān ratthathammanūn = sān ratthammanūn] (n, exp) EN: Constitutional Court
[saphā rāng ratthathammanūn] (n, exp) EN: Constituent Assembly  FR: assemblée constituante [ f ]
[thammanūn] (n) EN: basic law ; charter ; statute ; constitution  FR: charte [ f ] ; statut [ m ] ; acte [ m ]
[wan ratthathammanūn] (x) EN: Constitution Day  FR: jour de la Constitution [ f ]
Longdo Approved EN-TH
(n, adj, adv)|มีที่มาจากภาษาฝรั่งเศส| การสั่งอาหารที่มีอยู่ในเมนูได้ตามใจชอบ โดยไม่ต้องสั่งเป็นชุดตามที่ร้านอาหารจัดไว้ (ทางประเทศแถบตะวันตก มักมีรายการอาหารเป็นชุดจัดไว้ให้), เมนูหรือรายการอาหารที่มีราคาแยกเฉพาะสำหรับอาหารแต่ละจาน
(org)ศาลรัฐธรรมนูญ ของประเทศไทยมีชื่อเต็มว่า The Constitutional Court of The Kingdom of Thailand มีโฮมเพจอยู่ที่ http://www.concourt.or.th/
(n, name, org, uniq)ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
[เฟรม-เมอ](n)บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ)See Also:Constitution, law
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)รายการอาหารSee Also:เมนู
(n)รัฐธรรมนูญ
(n)ความนูนSee Also:การโค้งออกSyn.bulge
(n)ความนูนของเลนส์ / กระจกSee Also:การโค้งออก
(n)กฎหมายSee Also:รัฐธรรมนูญSyn.Magna Charta
(n)กฎหมายSee Also:รัฐธรรมนูญSyn.Magna Carta
(n)อาหารที่อยู่ในรายการหรือเมนูSyn.food
(adj)ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญAnt.constitutional
Hope Dictionary
เครื่องหมาย ellipsis หมายถึง จุดเล็ก ๆ สามจุด ซึ่งจะอยู่หลังรายการคำสั่งบางรายการภายใต้เมนูต่าง ๆ จุด 3 จุด นี้ แสดงว่า หากเลือกคำสั่งนี้ จะมีคำถามรายละเอียดเพิ่มเติมให้ตอบในแบบของกรอบสนทนา (dialog box) บางรายการคำสั่งที่ไม่มี 3 จุดนี้ คอมพิวเตอร์ก็จะปฎิบัติตามคำสั่งโดยไม่มีกรอบสนทนามาให้เติมเลย
(เอ' ลิแอส) 1. n., (pl. -ases) นามแฝง, สมญานาม. -adv. มีนามแฝงว่าSyn.pseudonym 2. สมนาม คอมพิวเตอร์แมคอินทอชที่ใช้ System 7 มีคำสั่ง Make Alias ใต้เมนู File คำสั่งนี้ใช้สำหรับสร้างสัญรูป icon อีกอันหนึ่งของแฟ้มข้อมูลที่เลือกไว้ แฟ้มใหม่นี้จะมีคำ alias ต่อท้ายชื่อเดิม หากเมื่อใดมีการแก้ไขแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง โดยเรียกมาทำในจอภาพ แล้วสั่งบันทึกเก็บลงในจานบันทึก การแก้ไขนั้นก็จะมีผลต่อแฟ้มสมนามนั้นด้วย ทั้งนี้เพราะอันที่จริงแล้ว สัญรูปสมนามนั้นไม่ว่าจะมีสักกี่อัน จะโยงถึงแฟ้มข้อมูลอันเดียวกันทั้งสิ้น ดู duplicate เปรียบเทียบ
เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น
รัฐธรรมนูญของ 13 อาณานิคมของอเมริกาในปี 1781
แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
คำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ
(คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ
คลิปบอร์ดกระดาษทดหมายถึง เนื้อที่ในหน่วยความจำที่กันไว้ใช้เก็บข้อมูลชั่วคราว มีใช้ทั้งในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช และระบบวินโดว์ของพีซี เนื้อที่ที่กันเอาไว้ส่วนนี้ทำหน้าที่เหมือนกระดาษทด ที่หากใช้คำสั่ง cut หรือ copy (ใต้เมนู Edit) แล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะนำข้อความหรือภาพที่ถูก cut หรือ copy นั้นไปเก็บไว้ที่นั่น ข้อความหรือภาพที่อยู่ในนั้น จะอยู่ในกระดาษทดหรือคลิปบอร์ดนี้จนกว่าจะมีข้อความหรือภาพใหม่ไปทับ เราสามารถนำข้อความหรือภาพที่อยู่บนกระดาษทดนี้ไปวางหรือ paste ลงในแฟ้มข้อมูลของโปรแกรมใดก็ได้ ดู copy, cut, paste ประกอบ
ที่ดูคลิปบอร์ดเป็นชื่อโปรแกรมหนึ่งในระบบวินโดว์ เมื่อเรียกใช้ จะแสดงให้ดูทันทีว่า ในคลิปบอร์ดมีภาพหรือข้อความใดเก็บอยู่ เมื่อเราใช้คำสั่ง paste ที่อยู่ใต้เมนู EDIT ซึ่งจะมีอยู่ในทุกโปรแกรม ภาพหรือข้อความที่มองเห็นว่าอยู่ในคลิปบอร์ดจะไปปรากฏ ณ ตำแหน่งที่กำหนดให้ทันทีดู clipboard ประกอบ
ช่องปิดวินโดว์หมายถึงช่องสี่เหลี่ยมที่มุมขวาบนของวินโดว์ ที่มีลักษณะเป็นกากบาท เมื่อกดที่ปุ่มนี้ วินโดว์จะปิดลงเหมือนใช้คำสั่ง close ใต้เมนู FILE
(ซีแอลเอส) ย่อมาจาก close เป็นคำสั่งหนึ่งมีใช้ทั้งในระบบดอสและระบบวินโดว์ (อยู่ใต้เมนู FILE) ในระบบดอส จะเป็นการล้างสิ่งที่พิมพ์บนจอภาพทั้งหมด ส่วนในระบบวินโดว์ จะมีความหมายว่าปิดการแสดงวินโดว์นั้น
(คันสทิช'ชุเอินทฺ) adj. เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ n. องค์ประกอบSyn.intrinsicAnt.extrinsic
(คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐานSyn.composition
(คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน, เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, เป็นส่วนสำคัญ, ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพSyn.basic
n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ
n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญSee Also:constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE)
รายการเลือกแบบดึงลงหมายถึง รายชื่อเมนูที่เมื่อใช้เมาส์กดแล้วจะมีรายการแสดงให้เลือก เช่น ถ้ากดเมาส์ที่เมนู Edit จะมีรายการเลือก copy, cut, paste ฯ เรียงลงมาให้เลือก
(เอค'ซิท, เอค'ซิท) n. ทางออก, ประตูฉุกเฉิน, การจากไป, การลงจากเวที, การตาย. vi. ออกไป, จากไป, ลงจากเวที, ตาย. -make one's exit ออกไป, จากไปSyn.outlet, ออกทางออกหมายถึงคำสั่งที่ผู้ใช้โปรแกรมใช้ เมื่อต้องการหยุดหรือเลิกใช้โปรแกรมนั้นเพื่อกลับออกไปสู่ระบบปฏิบัติการ operating systems หลังจากที่ใช้งานเสร็จเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมต่าง ๆ ของแมคอินทอชมักจะใช้คำว่า Quit แทน ซึ่งก็มีความหมายเหมือนกัน ในระบบวินโดว์ของพีซี ทุกโปรแกรมจะมีคำสั่งนี้ไว้ให้เลือกใต้เมนู File ซึ่งเป็นคำสั่งกลับออกไปยังระบบวินโดว์นั้นเอง
(ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น.See Also:find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search
(ไฟ'เดอะ) n. ผู้ค้นหา, สิ่งที่ใช้ค้นหา, กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล, กล้องดูภาพ, เครื่องวัด, เครื่องตรวจสอบ ตัวหาเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (ดูใน System Folder) ที่ทำหน้าที่จัดการ ในเรื่องสัญรูป (icon) การแสดงรายการต่าง ๆ ตลอดถึงการแสดงวินโดว์ การคัดลอก การย้าย และการลบแฟ้มข้อมูล หากไม่มี โปรแกรมนี้ การทำงานจะช้ากว่านี้ มาก เครื่องแมคอินทอช รุ่นใหม่ ๆ จะแสดงเป็นเมนูดัง ที่เห็นในภาพข้าง ๆ
n. เครื่องพับ, คนพับกระดาษ, ที่เก็บกระดาษเอกสาร กล่องแฟ้มข้อมูลโฟลเดอร์หมายถึง ที่รวมกลุ่มแฟ้มข้อมูล เป็นศัพท์ที่ใช้เฉพาะกับเครื่อง แมคอินทอช (พีซี ใช้ program group) มีสัญรูปเหมือนกล่องมีสีเหลือง อนึ่ง ภายใต้เมนู File จะมีคำสั่งให้สร้างโฟลเดอร์ใหม่ได้ คือ New folder เมื่อใช้ คำสั่งนี้แล้ว จะได้สัญลักษณ์ใหม่มาอีกอันหนึ่ง ข้างล่างจะมีคำว่า "untitled folder" ลากสัญรูปแฟ้มข้อมูลที่ต้องการให้อยู่กลุ่มเดียวกันไปรวมไว้ภายในโฟลเดอร์นี้ เวลาต้องการเรียกใช้ จะช่วยให้หาได้ง่ายและสะดวก ควรจะตั้งชื่อโฟลเดอร์ใหม่นี้เสียด้วย
(โก'เฟอะ) n. คนที่มีใจจดใจจ่อ, ผู้ช่วย, เด็กรับใช้, เป็นชื่อโปรแกรมที่ทำให้เราสามารถอ่านข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตได้ เริ่มด้วยการช่วยหาแฟ้มข้อมูล ในลักษณะที่เป็นแบบเมนู กล่าวคือ มีรายการให้เลือก เมื่อพบแล้วก็สามารถเก็บลงในจานบันทึก หรือสั่งพิมพ์ออกมาได้
การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้ใช้ตัวย่อว่า GUI (อ่านว่ากุย) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู
(จียูไอ, กุย) ย่อมาจาก graphical user interface (แปลว่า การใช้ภาพเป็นตัวประสานกับผู้ใช้) เป็นวิธีการให้ความสะดวกแก่ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ให้ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยผ่านทางภาพ เช่น ใช้เมาส์กดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพ์คำสั่งดังแต่ก่อน หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกว่า ระบบเมนู
จุดร้อนหมายถึง เนื้อที่บางส่วนบนจอภาพ ที่เมื่อกดเมาส์ลงไปแล้ว จะทำให้เกิดรายการอื่นขึ้นมา แทนที่จะเป็นเรื่องเดิมที่ทำอยู่ ตัวอย่าง เช่นในโปรแกรมประเภทใช้สื่อหลายแบบ (multimedia) หรือการเรียกเมนู Help หรือกดเรียกลูกโป่ง (balloon) มาให้คำอธิบายในเครื่องแมคอินทอช
(จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) , สภาการเมือง, คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเองSyn.clique
n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญSee Also:constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
(แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ
ระบบทำงานด้วยเมนูหมายถึงระบบการทำงานของโปรแกรมที่ใช้เมนูเป็นหลัก กล่าวคือ มีรายการคำสั่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพให้เลือก ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจำคำสั่งเลย เพียงแต่ใช้เมาส์เลื่อนไปที่คำสั่งที่ต้องการแล้วกด คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ ระบบดังกล่าวนี้ทำให้การทำงานโดยใช้คอมพิวเตอร์นั้นง่ายขึ้นกว่าเดิมมาก
รหัสช่วยจำหมายถึง วิธีการเรียกชื่อย่อของสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อช่วยให้นึกถึงชื่อเต็มของสิ่งนั้นได้ดี เช่น อาจจะกำหนดตัวอักษรตัวแรกของคำไว้ใช้เป็นข้อคำสั่ง เช่น การกดแป้น Alt + F + S เป็นรหัสช่วยจำแทนคำสั่งเรียกเมนู File และเลือกคำสั่ง Save ในการเขียนโปรแกรมบางทีก็ใช้วิธีการนี้ได้ เช่น ถ้าคำใดยาว ก็อาจใช้ตัวย่อได้ เช่น STO แทน store เป็นต้น
แป้นดัดแปรหมายถึง แป้นอักขระบางแป้นที่ไม่ใช้ตามลำพังตัวเอง หรือถ้าใช้ ก็จะไม่มีผลอย่างใดเลย เช่น แป้น Ctrl, Shift, Alt แต่เมื่อกำหนดใช้ร่วมกับแป้นอักขระอื่นแล้ว จะก่อให้เกิดเป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามได้ เช่น ถ้ากดแป้น ALT+F จะเป็นการเรียกเมนู File ในระบบวินโดว์ ส่วนเครื่องแมคอินทอชจะมีแป้น Option ที่ทำหน้าที่คล้ายแป้น ALT เช่น ถ้ากดแป้น Option+C ก็จะเป็นการสั่งคัดลอก (copy)
เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลแอปเปิล มีสัญลักษณ์ ? อยู่บนแป้น เป็นแป้นที่ต้องใช้ร่วมกับแป้นอื่น จะทำให้เกิดเป็นคำสั่งเฉพาะ รายการคำสั่งในเมนูต่าง ๆ ก็จะมีบอกไว้ว่า ถ้าใช้แป้นนี้กับแป้นใด จะหมายถึงคำสั่งให้ทำอะไร อย่างไรก็ตาม การกดแป้นนี้ตามลำพังจะไม่มีผลแต่อย่างใดเลย (คล้ายแป้น ALT ของพีซี)
รายการเลือกแบบผุดขึ้นหมายถึง รายการเลือกที่จะผุดขึ้น เมื่อกดเมาส์ที่ลูกศรหลังรายการนั้น มักจะเป็นรายการที่ให้เลือกในกรอบสนทนาอีกทีหนึ่ง ไม่ใช่รายการเลือกที่มาจากบาร์เมนู (menu bar) เมื่อเลือกรายการใดแล้ว ก็จะแสดงรายการที่เลือกนั้นให้เห็นอยู่ตลอด
ในระบบวินโดว์ หมายถึง รายการเลือก (menu) ที่จะมองเห็นบนจอภาพ เมื่อกดเมาส์ที่บาร์เมนู ก็จะมีรายการคำสั่งต่าง ๆ มาให้เลือก เช่น ถ้ากดเมนู File จะมีรายการเลือก New Open Close Save Save as ให้เลือก เป็นต้น
เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู
เส้นคั่นแต่ละเมนูที่เห็นบนจอภาพในระบบวินโดว์ มักจะมีเส้นแบ่งหมวดหมู่ของรายการคำสั่งคั่นให้เป็นระยะ ๆ เพื่อให้มองหาได้ง่าย เช่น เมนู File ของโปรแกรม Microsoft Word จะแบ่งรายการคำสั่งเป็น New, Open, Close, Save, Save as, Version ส่วนหนึ่ง Page Setup, Print Preview, Print, ส่วนหนึ่ง บางทีก็มี Exit อยู่อีกส่วนหนึ่ง (แต่ละโปรแกรม อาจมีรายการคำสั่งแตกต่างกันไปบ้าง) แต่จะมีเส้นคั่น ให้เห็นชัดเสมอ
ปุ่มเริ่มต้นในระบบวินโดว์ 95 และ 98 ปุ่มเริ่มต้นจะอยู่บนแถบงาน (task bar) ที่ด้านล่างซ้ายสุดของจอภาพ จะมองเห็นได้ทันทีที่คอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบวินโดว์เรียบร้อยแล้ว ถ้ากดเมาส์ที่ปุ่มนี้ จะมีเมนูให้เลือกสั่งงานได้หลายอย่างดู Start menu ประกอบ
เมนูเริ่มแรกในระบบวินโดว์ 95 และ 98 เมนูเริ่มแรกนี้จะมองเห็นได้ทันทีที่กดเมาส์ที่ปุ่ม Start มีคำสั่งให้เลือกใช้ดังนี้ Programs, Documents, Settings, Find , Help, Run และ Shut downดู Start button ประกอบ
การตั้งระยะหมายถึง การตั้งระยะด้วยแป้น Tab โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) และโปรแกรมจัดพิมพ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (desktop publishing) มักจะมีเมนูให้กำหนดในเรื่องนี้ได้ เช่น ในโปรแกรม PageMaker
(ทาล'มุด, แทล'มุด) n. คัมภีร์หรือธรรมนูญโบราณของยิวSee Also:Talmudic adj. Talmudical adj. Talmudism n.
เมนูดึงออกได้หมายถึง เมนูที่เราสามารถดึงออกมาจากแถบเมนู (menu bar) มาวางไว้ที่ตำแหน่งใหม่ที่เราประสงค์
(ทอก'เกิล) n. หยุดสวมห่วง, โลหะที่ต่อเป็นข้อศอก, ข้อศอก, สลัก. vt. ทำให้มีหมุดหรือข้อศอกหรือสลัก, ยึดด้วยหมุดหรือข้อศอกหรือสลัก. , สลับไปมาหมายถึง สวิตช์แบบหนึ่งที่การกดแต่ละครั้ง จะมีผลสลับไปมาระหว่างเปิดกับปิด เหมือนกับสวิตช์เครื่องโทรทัศน์ อาจเป็นแป้นใดแป้นหนึ่งบนแผงแป้นพิมพ์ หรือคำสั่งใดคำสั่งหนึ่งบนเมนูก็ได้ กล่าวคือ ถ้ากดครั้งหนึ่ง ทำงาน กดอีกครั้งหนึ่ง ก็ยกเลิกSee Also:toggler n.
แถบเครื่องมือหมายถึง แถบที่อยู่ด้านบนของวินโดว์ ในระบบวินโดว์ 95 ขึ้นไป บนแถบนี้จะมีปุ่มคำสั่งต่าง ๆ ถ้านำตัวชี้ไปวางใกล้ ๆ ก็จะมีคำอธิบายว่า แต่ละปุ่มมีไว้ใช้ทำอะไร แต่ถ้ากดเมาส์ลงบนปุ่มเหล่านี้ คอมพิวเตอร์ก็จะทำงานให้ตามคำสั่งเหมือนใช้คำสั่งที่เมนู
(อันคอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
วิชวล เบสิกเป็นภาษาหนึ่งในการเขียนโปรแกรมระดับสูง สำหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ภาษานี้เน้นเรื่องการเขียนโปรแกรมออกแบบจอภาพ เครื่องมือที่จะใช้ ปุ่มที่จะใช้กด เมนูหรือรายการเลือกต่าง ๆ
(เวบ) n. ใยแมงมุม, ใย, พังผืดที่อยู่ระหว่างนิ้วเท้าของกบ ค้างคาวและสัตว์อื่น ๆ บางชนิด, ม้วนกรดาษขนาดใหญ่, ชุด, ร่างแห, ข่ายงาน vt. vi. คลุมด้วยสิ่งดังกล่าว, ทำให้เป็นสิ่งดังกล่าว เว็บเป็นคำเรียกสั้น ๆ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML ประกอบSee Also:weblike adj.Syn.trap, network
ย่อจากคำเต็มว่า Microsoft Windows เป็นชื่อของโปรแกรมระบบวินโดว์สของบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งทำงานภายใต้ระบบไมโครซอฟต์ดอส (Microsoft DOS) ที่เขียนโดยบริษัทเดียวกัน ถือว่าเป็นโปรแกรมระบบที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้ชิป 80286 ขึ้นไป สามารถใช้ระบบวินโดว์สได้ ระบบวินโดว์ได้พัฒนาตลอดมา ปัจจุบัน กำลังอยู่ระหว่างหัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากวินโดว์ส 3.1 เป็นวินโดว์ส 95 วินโดว์ส 97 และวินโดว์ส 2000 ต่อไป ระบบวินโดว์นี้จะรวมเอาโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ไว้ให้อย่างพร้อมมูล นอกจากนั้น หลายบริษัทยังสร้างโปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ให้ทำงานบนระบบวินโดว์สนี้ เช่น Aldus PageMaker, Freelance ทุกโปรแกรมจะมีวิธีการใช้พื้นฐานคล้ายคลึงกัน ทำให้ง่ายในการเรียนรู้ เพราะเรียนรู้โปรแกรมหนึ่ง ก็ทำให้มีแนวที่จะเรียนโปรแกรมอื่นง่ายขึ้น ระบบวินโดว์สนี้ จะเน้นในเรื่องการใช้ภาพเป็นสื่อ มีการใช้เมาส์ ใช้เมนู มีรายการเลือกต่าง ๆ ทำให้ผู้ใช้รู้สึกสะดวกขึ้นมาก
เวิลด์ไวด์เว็บนิยมใช้ตัวย่อ WWW (อ่านว่าดับบลิวดับบลิวดับบลิว) หมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML ประกอบ
(ดับบลิวดับบลิวดับบลิว, เวิรลด์ไวลด์เว็บ) ย่อมาจาก world wide web อ่านว่า เวิรลด์ไวด์เว็บ หมายถึงสถานที่รวมของกลุ่มคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทางอินเตอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำหลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลกดู internet, HTML, ประกอบ
Nontri Dictionary
(adj)สำคัญ, เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
(n)การบัญญัติ, สังขาร, ร่างกาย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ
(adj)เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ, ตามรัฐธรรมนูญ, ทางร่างกาย
(n)การเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญ
(n)รายการอาหาร, บัญชีอาหาร, เมนู
(adj)ไม่ถูกรัฐธรรมนูญ, ฝ่าฝืนบทบัญญัติ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[คอนส-ติ-ติว-ฌัน เดย์](n)วันรัฐธรรมนูญของไทย ซึ่งตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปีSee Also:ประชาธิปไตย
Image:
Constitution Day
ฝ่าฝืน เช่น in breath of the charter ฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ
(n, org, uniq)ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
(n, org, uniq)ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html
Longdo Approved JP-TH
[しながき, shinagaki](n)รายการ, เมนู
[けんぽう, kenpou](n)รัฐธรรมนูญ
[りっけんくんしゅせい, rikkenkunshusei](n)การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
立憲君主政体
[りっけんくんしゅせいたい, rikkenkunshuseitai]การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
憲法記念日
[けんぽうきねんび, kenpoukinenbi](n)วันรัฐธรรมนูญ
鰤大根
[ぶりだいこん, buridaikon](n, uniq)ชื่อเมนูอาหารญี่ปุ่น มีลักษณะเป็นซุป ประกอบด้วยปลา yellowtail และหัวไชเท้า
Longdo Approved DE-TH
(n)|das, pl. Spiegeleier| ไข่ดาว เช่น 1° Das Menü McMorning bestehst aus einem Brötchen mit Spiegelei und einer Tasse Kaffee. = เมนูอาหารเช้า McMorning ประกอบด้วย ขนมปังก้อนเล็ก, ไข่ดาว และกาแฟ 1 แก้วSee Also:A. Das Rührei
Longdo Approved FR-TH
(adv)ตามรัฐธรรมนูญ (เป็นคำในภาษาฝรั่งเศสที่มีจำนวนพยัญชนะและสระในหนึ่งคำมากที่สุด)
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ