ว. สุกใส, บริสุทธิ์, เช่น จิตใจผ่องใส, แจ่มใส, มีน้ำมีนวล, เช่น หน้าตาผ่องใส.
ก. ยิ้มด้วยความอิ่มใจ, กระยิ้มกระย่อง ก็ว่า.
ก. ยิ้มย่อง, ยิ้มด้วยความอิ่มใจ, ยิ้มย่องผ่องใส ก็ว่า.
(ขะหฺมุกขะหฺมัว) ว. มืด ๆ มัว ๆ, โพล้เพล้, จวนคํ่า, จวนมืด, โดยปริยายใช้หมายถึงสีมัว ๆ, ไม่ผ่องใส, เช่น ครั้นจะทำขมุกขมัวมอมแมม ชายเห็นจะเยื้อนแย้มบริภาษให้บาดจิต (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
ก. ถูให้เกลี้ยง, ถูให้ผ่องใส, ถูให้ขึ้นเงา, เช่น ขัดขี้ไคล ขัดพื้น.
(คฺลํ้า) ว. ค่อนข้างดำ, ไม่ผ่องใส, หม่นหมอง, เช่น ผิวคลํ้า หน้าคลํ้า.
(แคฺรง) ว. งามพรายแพรว, หมดจด, ผ่องใส, เช่น ธก็ทรงพสตรพาสแครง ดุจแสงสังข์ใสสุทธ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), อนนธกทำด้วยไหมประไพแครงเครื่องฟ้า (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), พายคํ่าจำรัสแครง ใสส่อง (ทวาทศมาส).
(-พิดทะพอน) น. พร ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ, ใช้ในการให้พร ขอให้มีอายุยืน มีผิวพรรณผ่องใส มีความสุขกายสุขใจ และมีกำลังแข็งแรง.
แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น เมื่อนั้น โฉมนางตะเภาทองผ่องใส ทั้งนางตะเภาแก้วแววไว ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว จึงว่าดูเอาหรือเจ้าไกร ว่าจะไปหาครูสักประเดี๋ยว มิรู้ช่างโป้ปดลดเลี้ยว ไปเที่ยวเกี้ยวชู้แล้วพามา (ไกรทอง).
(-ระมน) ว. ไม่มีมลทิน, ไม่มัวหมอง, ผ่องใส
ผ่องใส, บริสุทธิ์ เช่น จิตประภัสสร, เขียนเป็น ประภัสร์ ก็มี เช่น ธรรมรสเรืองรองผ่องประภัสร์ เป็นมิ่งฉัตรสุขสันต์นิรันดร (ชีวิตและงานของสุนทรภู่).
(-โปฺร่ง) ว. ผ่องใสปราศจากความขุ่นมัว.
(ปฺลั่ง) ว. ผ่องใส, มีนํ้านวล, มักใช้เข้าคู่กับคำ เปล่ง เป็น เปล่งปลั่ง.
ว. ขุ่นมัวไม่ผ่องใส (ใช้แก่ผิว) เช่น กระจกฝ้า เพชรเป็นฝ้า, เรียกหน้าที่มีลักษณะเป็นจุดหรือรอยผื่นสีคลํ้า ๆ ว่า หน้าเป็นฝ้า.
น. ความผ่องใส, ความงาม, ความดี, ความสะอาด, ความบริสุทธิ์, ความถูกต้อง
ว. ดำคลํ้า, ไม่ผ่องใส, หม่น, เช่น แต่งตัวมอซอ.
ว. ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, ไม่เบิกบาน, ไม่สดชื่น, เช่น หูตามัวซัว ผ้าสีตกมัวซัว.
ว. มีสง่าราศี, มีผิวพรรณผ่องใส.
ว. หมองมัว, ไม่ผ่องใส, เช่น ผิวพรรณเศร้าหมอง หน้าตาเศร้าหมอง เครื่องนุ่งห่มเศร้าหมอง.
ว. ผ่องใส, ไม่ขุ่นมัว, เช่น หน้าตาสดใส สีสันสดใส.
ว. ไม่สกปรก เช่น เสื้อผ้าสะอาด บ้านเรือนสะอาด น้ำสะอาด, หมดจด, ผ่องใส, เช่น จิตใจสะอาด, ไม่มีตำหนิ, บริสุทธิ์, ไม่ทุจริต, เช่น เขาเป็นคนใจซื่อมือสะอาด.
น. หน้าอิ่มเอิบผ่องใสชวนดู, หน้าสว่าง ก็ว่า.
น. หน้าอิ่มเอิบผ่องใสชวนดู, หน้าเปิด ก็ว่า.
ว. สะอาด, ผ่องใส, เช่น เขาแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสะอาดหมดจด
ว. ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, เช่น หน้าตาหม่นหมอง จิตใจหม่นหมอง, หมองหม่น ก็ว่า.
(หฺมอง) ว. ขุ่น, มัว, เช่น เครื่องแก้วหมอง เครื่องเงินหมอง, ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, เช่น หน้าหมอง.
ว. ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, หม่นหมอง ก็ว่า.
ว. ไม่ผ่องใสเพราะมีความขุ่นเคืองใจ.
(อะแหฺร่ม) ว. แพรวพราว, ผ่องใส, สดใส, เช่น งามแอร่ม หน้าตาแอร่ม.