ads-m
58 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ผู้แต่ง*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ผู้แต่ง, -ผู้แต่ง-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)authorsSyn.คนแต่ง, ผู้เขียน, คนเขียนExample:การสรรหาเรื่องราวแปลกๆ มานำเสนอผู้อ่านเป็นหน้าที่ของผู้แต่งอยู่แล้วUnit:คนThai Definition:บุคคลที่เขียนหรือเรียบเรียงให้เป็นเรื่องราว
(n)appointerSee Also:authoritySyn.คนแต่งตั้งUnit:คนThai Definition:ผู้ที่มีอำนาจกำหนดให้ผู้อื่นอยู่ในตำแหน่งที่สูงขึ้น
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(-มัก) น. ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ.
(-รดจะนาจาน) น. อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์.
ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์.
น. ผู้แต่งทำนองเพลง, ผู้แต่งเนื้อร้องและทำนองเพลง, นักแต่งเพลง ก็เรียก.
ผู้แต่งด้วยพวงดอกไม้ (เฉพาะเพศหญิง).
น. ผู้แต่งด้วยพวงดอกไม้, เพศหญิงใช้ว่า มาลินี.
น. อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ผู้ประพันธ์, ผู้แต่ง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ไม่่ปรากฏชื่อผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
ผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
ดัชนีผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง[เทคโนโลยีการศึกษา]
ไม่่ปรากฏชื่อผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้แต่งExample:เป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่หรือมีหน้าที่รับผิดชอบในการผลิตผลงาน ซึ่งชื่อผู้แต่งจะถูกพิมพ์ปรากฏอยู่บนหน้าปกในหรือแห่งอื่นๆ ของผลงานนั้นๆ อาจจะประกอบด้วยผู้แต่ง 2 คนหรือมากกว่านั้นเป็นผู้แต่งร่วม ในการลงรายการของห้องสมุด มีคำหลายคำที่สื่อถึงผู้แต่งอยู่หลายคำ โดยรวมถึงคำว่า บรรณาธิการ ผู้เรียบเรียง ผู้ประสานงานเสียง ผู้สร้างสรรค์ เป็นต้น <p> <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/201103-bookpr-10.jpg" alt="Author"> <p> หนังสือที่มีผู้แต่งทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการ <p> ปกป้อง จันวิทย์, บรรณาธิการ. ปาฐกถา 60 ปี เศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : Openbooks, 2554. <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/201103-bookpr-12.jpg" alt="Author"> <p> หนังสือที่มีผู้แต่งในนามของหน่วยงานหรือนิติบุคคล <p>สำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาาน. รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2553. กรุงเทพฯ : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน, 2554. <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/201103-bookpr-13.jpg" alt="Author"> <p> หนังสือที่มีผู้แต่งรับผิดชอบเพียง 1 คน <p> นราทิพย์ จั่นสกุล. แผนแบบการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม R. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2552.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณานุกรมของผู้แต่ง, บรรณานุกรมของผู้แต่งExample:เป็นรายชื่อผลงานของผู้แต่งที่รวบรวมขึ้น <p> <p>ตัวอย่าง บรรณานุกรมของผู้แต่ง <p> <p> 1. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) <p> 2. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน <p> 3. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ ของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน และพระสารประเสริฐ <p> 4. บรรณานุกรมงานนิพนธ์ของ ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล <p> 5. บรรณานุกรมงานส่วนบุคคลของศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร <p> 6. บรรณานุกรมประกอบบรรณนิทัศน์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว <p> 7. บรรณานุกรมพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> 8. เรียงร้อยบรรณรัตน์ : บรรณานุกรมและดรรชนีพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี <p> 9. รายชื่อหนังสือพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บัตรผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ดัชนีผู้แต่งExample:<p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120416-Author-Index1.jpg" alt="Author Index"> <p>เป็นการนำชื่อผู้แต่ง ซึ่งอาจเป็นชื่อบุคคล นิติบุคคล หรือ หน่วยงาน องค์กร สถาบัน ลงเป็นรายการหลัก จะปรากฏในดัชนีซึ่งแบ่งตามลักษณะของสิ่งพิมพ์ที่นำมาจัดทำดัชนี ได้แก่ ดัชนีวารสาร ดัชนีหนังสือพิมพ์ และดัชนีหนังสือท้ายเล่ม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เลขผู้แต่งExample:<p>เลขผู้แต่ง หรือ เลขหนังสือ (Book number) หมายถึง สัญลักษณ์ประจำตัวทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เลขประตัวผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชื่อเรื่องนั้น เลขผู้แต่ง ประกอบด้วย อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ซึ่งเลขประจำตัวชื่อผู้แต่งนั้น ได้มีการกำหนดเป็นตารางเลขสำเร็จรูปไว้แล้ว <p>กรณีที่ทรัพยากรสารสนเทศไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบ จะลงรายการหลักด้วยชื่อเรื่อง ซึ่งประกอบด้วยอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องและเลขประจำอักษรตัวถัดของชื่อเรื่อง นอกจากนี้ อาจจะมีสัญลักษณ์ที่ระบุถึงเล่มที่ ฉบับที่ ตอนที่ ปีพิมพ์ เพิ่มขึ้นมาอีกด้วย <p>ส่วนตารางเลขผู้แต่งภาษาต่างประเทศนั้น ใช้ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น (Cutter-Sanborn Table) ซึ่งเป็นคัตเตอร์ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ส่วนสำหรับเลขผู้แต่งชาวไทย จะมีตารางเลขผู้แต่งชาวไทยของหอสมุดแห่งชาติ <p>ตัวอย่าง ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Cutter.JPG" width="640" height="200" alt="Cutter">[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการจำแนกผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
รายการชื่อผู้แต่ง, การลงชื่อผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้แต่งทำนองเพลง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การลงรายการชื่อสถาบันเป็นผู้แต่ง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้แต่งร่วม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ[การทูต]
งานเขียนที่ไม่ระบุชื่อผู้แต่งExample:<p>Anonymous work หมายถึง งานเขียนที่ไม่ระบุชื่อผู้แต่งไว้ในเล่ม และไม่สามารถค้นหาชื่อผู้แต่งได้จากตัวเล่มหรือจากแหล่งสืบค้นอื่นใด ดังนั้น ในการทำบัตรรายการหรือการทำบรรณานุกรมจะลงรายการที่ชื่อสิ่งพิมพ์เป็นรายการหลัก ตัวอย่างเช่น <p> ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์ ปี 2548. 2548. กรุงเทพฯ: ธรรมนิติการบัญชีและภาษีอากร. <p> สงกรานต์สานใจไทย. 2552. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. <p> Thailand: a traveller’s companion. 2000. Singapore: Editions Didier Miller Pte. <p> Great sporting graphics. 1995. Rockport, Mass.: Rockport Pub. <p> สำหรับข้อความเกี่ยวกับชื่อผู้แต่งหรือผู้อื่นที่ไม่ได้รับผิดชอบในฐานะผู้แต่ง เช่น ผู้แปล ผู้รวบรวม บรรณาธิการ เป็นต้น ที่สืบค้นได้จากที่อื่น เมื่อนำมาใช้ลงรายการในบัตรหรือรายการบรรณานุกรม ให้ใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมเพื่อให้เห็นชัดเจน ดังตัวอย่าง <p> ประเพณีโบราณ / [ รวบรวมโดยลุงรัถ ] <p> ล่าข้ามโลก / [ แปลโดยพจน์ ] [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ภาพผู้แต่งหนังสือExample:<p> Author portrait หมายถึง ภาพของผู้แต่งหนังสือแบบเต็มหน้า ที่อยู่ในหน้าซ้ายมือก่อนหน้าชื่อเรื่อง หรือในบางครั้งจะอยู่ในหน้าชื่อเรื่องของหนังสือ ซึ่งโดยทั่วไปเป็นภาพถ่ายหรือภาพพิมพ์ โดยปกติหนังสือส่วนใหญ่ที่จัดพิมพ์ในศตวรรษที่ 19 และต้นศตวรรษที่ 20 จะแสดงภาพใบหน้าส่วนศีรษะถึงช่วงไหล่ของผู้แต่งหนังสือพร้อมด้วยชื่อและที่มาของภาพนั้นไว้ในหนังสือด้วย หนังสือที่เขียนด้วยลายมือในสมัยกลาง บางครั้งจะวาดภาพของผู้แต่งหนังสือเป็นภาพขนาดเล็กไว้ในงานเขียนของผู้แต่ง เพื่อช่วยผู้อ่านในการระบุงานเขียนนั้น สำหรับหนังสือสมัยใหม่จะมีรูปภาพเล็ก ๆ ของผู้แต่งพิมพ์ไว้ที่ด้านหลังใบหุ้มปกของหนังสือปกแข็งพร้อมด้วยชีวประวัติโดยย่อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ผู้แต่ง[การแพทย์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[datchanī cheū phūtaeng] (n, exp) EN: author index  FR: index des auteurs [ m ]
[datchanī phūtaeng] (n, exp) EN: author index  FR: index des auteurs [ m ]
[phūtaeng] (n) EN: author ; authoress ; writer  FR: auteur [ m ] ; écrivain [ m ]
[phūtaeng nangseū] (n, exp) FR: auteur de livres [ m ]
[phū taengtang] (n) EN: appointer ; authority
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)บทกวีที่บรรยายความรู้สึกของผู้แต่งSee Also:บทกวีSyn.poem
(n)ผู้แต่งบทเพลง
(n)ผู้แต่งวรรณกรรม
(n)ผู้แต่งงาน
(n)ผู้แต่งเพลงSee Also:ผู้เรียบเรียงSyn.composer, minstrel, troubadour
(n)ผู้แต่งเพลงสวด
(n)ผู้แต่งบทกวีSee Also:ผู้แต่งบทประพันธ์Syn.poet
Hope Dictionary
(คัมโพ'เซอะ) n. ผู้แต่ง, ผู้ทำ, นักแต่งเพลงหรือดนตรี
n. ผู้แต่งกายเต็มยศ
(นอฟ'วะลิสท.) n. ผู้แต่งนวนิยาย
(เพลส'เซอะ) n. ผู้จัด, ผู้จัดวาง, ผู้แต่งตั้ง, ผู้ได้อันดับที่, ดินทรายที่มีทองหรือโลหะมีค่าปนอยู่,
(ซาล์'มิสทฺ) n. ผู้แต่งเพลงสวด
Nontri Dictionary
(n)ผู้แต่งตั้ง
(n)ผู้แต่ง, ผู้เขียน
(n)ผู้ประพันธ์, ผู้แต่งนวนิยาย
(n)ผู้แต่งบทสวด, ผู้แต่งเพลงสวด
(n)ผู้เขียน, นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)หนังสือหรือจดหมายที่ผู้แต่งเขียนไว้สำหรับขอโทษในความผิดพลาดของตัวเอง, จดหมายลา
Longdo Approved JP-TH
[さっか, sakka](n)นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, pl. Autoren| ผู้ประพันธ์, ผู้แต่งหนังสือ
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ