45 ผลลัพธ์ สำหรับ 

ผู้เขียน

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -ผู้เขียน-, *ผู้เขียน*
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ผู้เขียนข่าวกีฬาสตรี[TU Subject Heading]
ผู้เขียนบทภาพยนตร์[TU Subject Heading]
ผู้เขียนข่าวกีฬา[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
และเขาถูกยกย่องให้เป็นผู้เขียน นิยายเสียดสีได้เก่งที่สุดในยุคนั้นField of Dreams (1989)
ดีปัญหาของฉันคือว่าเอ้อผมไม่ทราบว่าชื่อจริงของผู้เขียน ให้คนเดียวที่เขาได้รับข้อมูลทั้งหมดของเขาจากThe Russia House (1990)
ผู้เขียนได้รับแรงบันดาลใจจากความคิดเห็นบางอย่างของสำนักพิมพ์อังกฤษ เกี่ยวกับสันติภาพของโลกThe Russia House (1990)
ผู้เขียน "ในแสงสว่าง" นวนิยายตีแผ่ยุคใหม่ ที่ขายได้กว่า 200, 000 เล่มPola X (1999)
นั่นแฮมมอนผู้เขียนเชียร์เฮเก้นตลอดThe Legend of Bagger Vance (2000)
ทำให้ผู้เขียนไม่ได้รับเลือกให้ลงข้อความในทอร์ช' เขียนได้ประชดประชันดีแท้ บางทีอาจจะเป็นข่าวน่าอ่านที่สุดก็ได้X-Ray (2001)
จินนี่ปล่อยบาซิลิสก์ ให้จัดการเลือดสีโคลนกับแมว จินนี่เป็นผู้เขียนคำขู่ไว้บนกำแพงHarry Potter and the Chamber of Secrets (2002)
(เฮาเวิร์ด ซินน์ ผู้เขียนหนังสือ ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกาฉบับประชาชน) เมื่อสิ้นสงครามกลางเมือง มีการผ่านญัตติแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติมข้อ 14The Corporation (2003)
แนวคิดเรื่องเขตผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก (นาโอมี ไคลน์ ผู้เขียนหนังสือ No Logo) ก็คือมันจะเป็นก้าวแรกที่นำไปสู่ การพัฒนาแนวใหม่ที่วิเศษสุดThe Corporation (2003)
เมื่อฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 (เอ็ดวิน แบล็ค ผู้เขียน IBM and the Holocaust) เป้าหมายของเขาคือ รื้อถอนทำลายชุมชนชาวยิวThe Corporation (2003)
และจดหมายจากสมาคมผู้เขียนบทเวสต์อเมริกาThe Holiday (2006)
ผมจะให้ผู้เขียนบท แก้มันให้เหมาะสมAlmost Love (2006)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[phūkhīen] (n) EN: author ; writer  FR: auteur [ m ] ; écrivain [ m ]
Longdo Approved EN-TH
(n)อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้นSyn.commentator
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ผู้เขียนชีวประวัติของผู้อื่น
(n)ผู้เขียนร่วมSyn.collaborator
(n)ผู้เขียนในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารSee Also:คอลัมน์นิสต์
(n)ผู้เขียนคำโฆษณา
(n)ผู้เขียนพจนานุกรมSee Also:ผู้ทำพจนานุกรมSyn.dictionary writer, dictionary maker
(n)ผู้เขียนรายงานต่อคณะกรรมการหรือการประชุม
(n)ผู้เขียนใหม่See Also:ผู้ประพันธ์ใหม่Syn.editor
Hope Dictionary
(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด.Syn.algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
(แอล' โลนิม) n. ชื่อของอีกบุคคลหนึ่งที่ ผู้เขียนใช้เป็นนามปากกาของตน. -allonymous adj.
(แอน' โนนิม) n. ชื่อแฝง, ชื่อปลอม, คนที่ไม่แจ้งชื่อ, ผู้เขียนที่แฝงนาม, สิ่งตีพิมพ์ที่ไม่ระบุชื่อผู้เขียนSyn.pseudonym
(แอน' ทีนอฟเวิล) n. นวนิยายหรือเรื่องเริงรมย์ที่ผู้เขียนไมใช้หลักการทั่วไปที่ยืดถือกัน. -antinovelist n.
(ออคโท'เรียล) adj. เกี่ยวกับผู้เขียนหรือผู้ประพันธ์ audacious (ออเด'เชิส) adj. กล้ามาก, ไม่กลัว, สร้างสรรค์มาก, กล้าได้กล้าเสีย (bold, fearless)
ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น
(ไบออก'กระเฟอะ) n. ผู้เขียนชีวประวัติ'
ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
การป้องกันการคัดลอกหมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้ผู้ใดสามารถคัดลอกได้ ผู้เขียนโปรแกรมมักพยายามทำทุกวิถีทางที่จะกันไม่ให้ผู้หนึ่งผู้ใด มาคัดลอกโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่เขาสร้างขึ้นไว้ เช่นใช้อุปกรณ์ปิดกั้น หรือซ่อนแฟ้มข้อมูลบางแฟ้มไม่ให้มองเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกฎหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ออกมาแล้ว ผู้ที่จะคัดลอกก็จะต้องระมัดระวังในเรื่องการคัดลอกนี้มากขึ้น
(ยู'ละจิสทฺ) n. ผู้สรรเสริญ, ผู้เขียนคำสรรเสริญ
Nontri Dictionary
(n)ผู้แต่ง, ผู้เขียน
(n)ผู้เขียนอัตชีวประวัติ
(n)ผู้เขียนบทละคร, นักแต่งบทละคร
(n)ผู้เขียนเรียงความ, ผู้ทดสอบ
(n)ผู้เผยแพร่ศาสนา, ผู้สอนศาสนา, ผู้เขียนคัมภีร์คริสต์ศาสนา
(n)ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม
(n)ผู้แสดงโศกนาฏกรรม, ผู้เขียนโศกนาฏกรรม
(n)ผู้เขียน, นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ