น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตากตากระหง่องเตรียม คอยแม่ มาฤๅ (นิ. ตรัง), ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็ใช้.
น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัวหนึ่งกัดเอ็นกระหน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กระน่อง ขะน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า เช่น ตัว ๑ ขบกะน่อง (ม. ภาคอีสาน ชูชก), กะหน่อง ก็เรียก.
น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กะน่อง ก็เรียก.
ว. แปร่ง, ไม่ชัด, ฟังไม่ออก, (ใช้แก่การพูด), หน็องแหน็ง ก็ว่า.
น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขาน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
น. น่อง, อวัยวะส่วนหลังของแข้ง ตั้งแต่ขาพับลงไปถึงส้นเท้า, กระหน่อง กระน่อง หรือ ขะน่อง ก็เรียก, อีสานว่า กะหน่อง หรือ กะน่อง.
น. เครื่องทำให้เกิดเสียงเป็นเพลง โดยใช้ปากคาบแล้วกระตุกหรือชักด้วยเชือกให้สั่นดังเป็นเสียงดนตรี.
(ตฺระ-) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.
น. ส่วนของขาเบื้องหลัง ด้านตรงกันข้ามกับหน้าแข้ง มีลักษณะโค้งนูน.
ว. อาการที่เดินช้า ๆ ตามสบาย.
น. กล้ามเนื้อที่อยู่ด้านหลังหน้าแข้ง.
น. ชื่อลายชนิดหนึ่งมักประดับที่ส่วนหลังของขาโต๊ะ ตั่ง หรือตู้แบบขาสิงห์ หรือประดับริมหรือขอบ เช่นริมโต๊ะหรือกรอบรูป.
น. ชื่อไม้ต้นชนิด Antiaris toxicaria Leschen. ในวงศ์ Moraceae ยางมีพิษ ใช้ทำยางน่อง.
น. ผู้ร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกันและเกิดทีหลัง, ลูกของอาหรือของน้า, เรียกคนที่มีอายุคราวน้อง
ออกทีหลัง, มาทีหลัง, เช่น หมากทะลายน้อง มะพร้าวทะลายน้อง, คู่กับ ทะลายพี่
ลักษณนามใช้นับอายุไม้จำพวกไม้ไผ่ เช่น ไม้น้องเดียว คือ ไม้ที่มีอายุ ๒ ปี ไม้ ๒ น้อง คือ ไม้ที่มีอายุ ๓ ปี.
ว. จวนจะเป็น, ใกล้จะเป็น, เกือบจะเป็น, เช่น น้อง ๆ อธิบดีเข้าไปแล้ว.
น. เรียกเวลาก่อนเพล ระหว่าง ๑๐ นาฬิกา ถึง ๑๑ นาฬิกา.
น. เบี้ยสองเบี้ยที่กระดานคนเล่นหมากรุกไม่อยู่เรียงตากัน อยู่ทะแยงตากัน (ปรัดเล).
ว. ติดกันนุงนัง, เกี่ยวเนื่องกันยุ่ง, ผูกติดกันและห้อยแขวนอยู่ (ปาเลกัว), เช่น ให้เอามันผู้ลอบทำแก่ท่านนั้นมาจำน่องแน่ง เอาขึ้นขาหย่างประจารปลงลงทวนด้วยลวดหนัง ๓๐ ที (สามดวง)
น. ผู้เกิดร่วมบิดามารดาเดียวกัน หรือร่วมบิดาเดียวกัน หรือร่วมมารดาเดียวกัน
ก. ไม่เอื้อเฟื้อจุนเจือญาติพี่น้อง.
น. ยางไม้ที่ได้จากพรรณไม้หลายชนิด เช่น ต้นน่อง (Antiaris toxicaria Leschen.) มีพิษมาก พวกชาวป่าใช้ทาลูกดอกหรือลูกหน้าไม้ยิงสัตว์.
ก. ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี.
ว. เป็นลูกพี่ลูกน้องกันตามลำดับศักดิ์ คือผู้เป็นพี่มีบุตร บุตรนั้นเรียกว่าลูกผู้พี่ น้องมีบุตร บุตรนั้นเรียกว่าลูกผู้น้อง บุตรทั้งสองฝ่ายนั้นเรียกว่า เรียงพี่เรียงน้องกัน.
น. บริวาร, ผู้อยู่ในปกครองหรือใต้บังคับบัญชา, ผู้ใกล้ชิดเป็นกำลังสำคัญในการงาน.
น. ญาติที่เป็นลูกของน้าหรืออา.
น. ญาติที่เป็นลูกของลุง ป้า น้า หรืออา.
น. สิ่วชนิดหนึ่งตัวหนาเป็นสี่เหลี่ยม มีคม.
(กะนิดถะ-, กะนิด) ว. “น้อยที่สุด”, (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว.
น. น้องสาว, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกนิษฐภคินี.
น. น้องชาย, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกนิษฐภาดา.
ก. ฟุ้งไป เช่น ให้กระจรกิจจาในนุสนธิ์ (พาลีสอนน้อง).
น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Limnophila rugosa (Roth) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลำต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลำต้น ดอกเล็ก ๆ สีม่วงแกมชมพู กลางเหลือง ออกเป็นกระจุกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ทุกส่วนของไม้นี้มีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหาร และใช้ทำยาได้, ผักโฉม ก็เรียก เช่น ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน (เห่เรือ).
น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย
ผูกให้แน่น เช่น กระสันเข้าไว้กับหลัก, ผูกพันพระพี่น้องสองกระสันเข้าให้มั่นกับมือ (ม. คำหลวง กุมาร), รัด เช่น สายกระสัน
ก. พูดไว้อย่างหนึ่งแล้วกลับพูดแย้งคำที่พูดไว้เดิม เช่น เขาบอกว่าจะลงโทษคนที่ทุจริต พอลูกน้องตนเองทุจริตกลับกลืนน้ำลายตัวเองออกมาปกป้องลูกน้อง.
ว. เต็มไปด้วยกาม เช่น ชงครากามิศน้อง ยังยังติดแม่ (ทวาทศมาส), โกมลมิ่งโกมุท กาเมศ เรียมเอย (ทวาทศมาส).
(ขะนิด, ขะนิดถา) น. น้อง.
ก. ทะเลาะเบาะแว้งกัน, ไม่ปรองดองกัน, เช่น พี่น้องคู่นี้ง่องแง่งกันเสมอ.
ก. งับเบา ๆ เช่น หมางํ่าน่อง.
ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย ทำอย่างนี้พรุ่งนี้ก็ไม่ได้สักหลุม, คุ้ย, สับ เช่น เอาจอบจกลงไปตรงนั้นซิ