ว. งาม, อร่าม, แจ่มใส, รุ่งเรือง
ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย (ลอ).
น. แถวหรือแนวอันเป็นระเบียบงดงาม.
ว. ชัดเจนแจ่มแจ้ง, ถูกแน่, แน่นอน.
น. ทาง เช่น พฤกษาในเถื่อนถ้อง (ม. คำหลวง มหาพน).
น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการตื่นตกใจง่ายโดยไม่ทันสำรวจให้ถ่องแท้ก่อน.
น. ถ่องแถว เช่น เทเพนทรพฤกษนุกันดอง (กล่อมช้างของเก่า).
น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้.
(ถะหฺนิม) น. เครื่องประดับ เช่น ถนิมพิมพาภรณ์, ธารถนิมทองถ่องเถือก (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), ใช้ว่า สนิม ก็มี เช่น สร้อยสนิมพิมพาภรณ์.
จ้า, โพลง, พราว, เช่น เถือกถ่อง.
ก. รู้ไม่ถ่องแท้, รู้ไม่มากพอ, เช่น เขาชอบเล่าเรื่องส่วนตัวของเพื่อน ๆ ทั้ง ๆ ที่รู้ไม่จริง.
แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว.