น. เรื่องเดียวกันแต่มองต่างกัน.
ว. คนหนึ่ง ๆ, แต่ละคน, เช่น เก็บเงินคนละ ๕ บาท
ต่างหากจากกัน ไม่ใช่อย่างเดียวกัน เช่น ผ้าคนละชนิด หนังสือคนละเล่ม.
ก. แตกหนีไปคนละทิศละทาง เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป, แตกหมู่เพ่นพ่านไป เช่น ฝูงวัววิ่งหนีกระเจิดกระเจิงไป, บางทีใช้ว่า กระเจอะกระเจิง.
น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง ผู้เล่นหาไม้หรือของอื่นมาคนละชิ้นสมมุติเป็นไข่ มอบให้แก่ผู้ที่ถูกจับสลากสมมุติเป็นกา ผู้เป็นการักษาสิ่งนั้นไว้ในวงเขตที่กำหนด ผู้เล่นนอกนั้นคอยลักไข่.
น. ผ้าชนิดหนึ่ง เช่น คลังถวายผ้ากาษา (กฎ. ราชบุรี ๒/๑๐๗), และพระไตรภูวนาทิตยวงศ์ก็ให้ผ้าลายและเสื้อกาสาคนละสำรับ (พงศ. กรุงเก่า), ฝันว่าห่มผ้าขาวกาสา (ตำราทำนายฝัน).
รวมหรือโยงเข้าในกลุ่มเดียวกัน เช่น เครื่องหมายปีกกาใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน
ก. ยอมรับการกระทำชำเราหรือยอมรับการกระทำอื่นใด หรือกระทำการอื่นใด เพื่อสำเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้อื่น อันเป็นการสำส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ยอมรับการกระทำและผู้กระทำจะเป็นบุคคลเพศเดียวกันหรือคนละเพศ.
น. ผู้ที่เข้ากระบวนแห่ของหลวงซึ่งเดินเคียงราชยานไปคนละข้าง.
ก. แยกพยางค์ของคำให้อยู่คนละวรรคหรือคนละบรรทัด มักใช้ในคำประพันธ์.
ระดับ เช่น มือคนละชั้น, ลักษณนามเรียกขั้นที่ลดหลั่นกันหรือซ้อนกัน เช่น ฉัตร ๕ ชั้น บ้าน ๒ ชั้น.
ว่ากันคนละทีในเชิงแข่งขัน เช่น เทศน์ซ้อน.
ชุด เช่น เข้าเซตกัน, กลุ่ม เช่น เพื่อนคนละเซต
ก. อยู่ตรงกันแต่คนละฟาก เช่น บ้านฉันอยู่ตรงกันข้ามกับสถานีตำรวจ โรงเรียนอยู่ตรงข้ามกับวัด
คนละฝ่ายคนละพวก เช่น ฝ่ายค้านอยู่ตรงกันข้ามกับฝ่ายรัฐบาล
คนละคนกัน เช่น ต่างพ่อ ต่างแม่.
น. ชื่อปลาในอันดับ Pleuronectiformes มีหลายชนิด หลายสกุล พบทั้งในทะเล นํ้ากร่อย และนํ้าจืด เมื่อเกิดใหม่ตาจะอยู่คนละข้างกันเหมือนลูกปลาทั่วไป แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นกะโหลกจะบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กล้ามเนื้อข้างหนึ่งบิดตามไปด้วย จึงทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างเหนี่ยวกันมาหรือเคลื่อนมาอยู่ด้านเดียวกัน มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ลิ้นหมา ลิ้นสุนัข ยอดม่วง ลิ้นควาย ลิ้นเสือ ลิ้นหมาหงอนยาว ใบไม้ ใบขนุน ซีกเดียว จักรผาน.
(ตะเหฺลิด) ก. แตกหนีไปคนละทิศละทาง, หนีไปอย่างไร้ทิศทาง, เช่น ฝูงวัวเตลิดไป, โดยปริยายหมายความว่า รั้งไม่อยู่ เช่น เด็กคนนี้เตลิดไปแล้ว เอาแต่เที่ยวเตร่ไม่ยอมเรียนหนังสือ.
(ตะเหฺลิด) ว. อาการที่แตกหนีไปคนละทิศละทาง, อาการที่หนีไปอย่างไร้ทิศทาง, เช่น พอมีเสียงตะโกนว่าไฟไหม้ ฝูงคนก็หนีเตลิดไปอย่างรวดเร็ว เด็กตกใจวิ่งเตลิดไป.
ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเราถือเขา ก็ว่า.
ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขาถือเรา ก็ว่า.
(บุกคน, บุกคะละ-, บุกคนละ-) น. คน (เฉพาะตัว)
(บุกคนละ-) น. กลวิธีการประพันธ์ที่สมมุติสิ่งไม่มีชีวิต ความคิด นามธรรม หรือสัตว์ให้มีสติปัญญา อารมณ์ หรือกิริยาอาการเยี่ยงมนุษย์.
(บุกคะละสิด, บุกคนละสิด) น. สิทธิเหนือบุคคล เช่น สิทธิของเจ้าหนี้เหนือลูกหนี้ที่จะเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ด้วยอำนาจแห่งมูลหนี้.
น. ชื่อปี่ชนิดหนึ่ง ใช้เป่าในวงปี่พาทย์มอญ มีขนาดใหญ่ ลักษณะเป็น ๒ ท่อน ตัวปี่หรือเลาปี่ทำด้วยไม้เนื้อแข็งสอดอยู่ในลำโพงทำด้วยโลหะ ทรงปากบานออกคล้ายลำโพง แยกเป็นคนละส่วนกับเลาปี่ จึงมีเชือกผูกโยงท่อนบนลำโพงกับเลาปี่ท่อนบนไว้ด้วยกัน.
น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง ใช้ไพ่ป๊อก มักเล่นเป็นกลุ่ม ๔ คน เจ้ามือแจกไพ่ควํ่าคนละ ๕ ใบ ทุกคนมีสิทธิ์ขอเปลี่ยนไพ่ครั้งเดียว ผู้ใดถือไพ่รวมได้แต้มหรือศักดิ์สูงกว่าตามกติกา ผู้นั้นชนะ.
ว. ไม่เข้าชุดกัน, ไม่เข้าคู่กัน, คนละพวก คนละฝ่าย.
ว. ต่างสีกัน, เดิมใช้แก่คนที่แต่งเครื่องแบบต่างสีกัน เมื่อพบเห็นมักทำให้รู้สึกว่าเป็นคนละพวก.
(พะยุพะยุง) ก. ช่วยกันพยุง เช่น ช่วยพะยุพยุงคนเจ็บ, พะยุพยุงจูงจับหิ้วปากคนละข้าง (ม. ร่ายยาว ชูชก).
โดยปริยายหมายถึง แบบอย่าง เช่น ต่างกันไปคนละเพลง (พระราชหัตถเลขา ร. ๕ ถึงสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส), ชั้นเชิง เช่น ร้อยภาษามาสู่เคยรู้เพลง (อภัย).
การพนันชนิดหนึ่ง เจ้ามือแจกไพ่ให้คนละ ๒ ใบ แล้วเรียกไพ่ได้อีก รวมแล้วไม่เกิน ๕ ใบ และจะจ่ายเงินให้คนที่ได้แต้มสูงกว่า และกินเงินคนที่ได้แต้มตํ่ากว่าตามกติกา.
(มงคน, มงคนละ-) น. เหตุที่นำมาซึ่งความเจริญ เช่น มงคล ๓๘, สิ่งซึ่งถือว่าจะนำสิริและความเจริญมาสู่และป้องกันไม่ให้สิ่งที่เลวร้ายมากล้ำกราย, เรียกงานที่จัดให้มีขึ้นเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุข เช่น งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งานทำบุญวันเกิด ว่า งานมงคล
(มงคนละจัก) น. ด้ายมงคลแฝดสำหรับบ่าวสาวสวมศีรษะในพิธีรดนํ้า, มงคลแฝด ก็เรียก.
(มงคนละวาด) น. คำให้พร, คำแสดงความยินดี.
(มงคนละวาน) น. วันดี, วันอังคาร.
(มงคนละสูด) น. ด้ายศักดิ์สิทธิ์ที่ล่ามจากหม้อนํ้ามนตร์
(มงคนละ-) น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีนิลอัญชัน มีกิริยาท่าทางเดินงดงาม, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี ๒. คังไคยหัตถี ๓. ปัณฑรหัตถี ๔. ตามพหัตถี ๕. ปิงคลหัตถี ๖. คันธหัตถี ๗. มงคลหัตถี ๘. เหมหัตถี ๙. อุโบสถหัตถี ๑๐. ฉัททันตหัตถี.
น. มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่ง อยู่เยื้องกันคนละข้างของเส้นตัดภายในเส้นขนานคู่นั้น รวมกันแล้วได้ ๑๘๐ องศา หรือ ๒ มุมฉาก.
เครื่องหมายขีดสั้น - ใช้เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าพยางค์หน้ากับพยางค์หลังนั้นติดกันหรือเป็นคำเดียวกัน ตัวที่เขียนแยกนั้นจะอยู่ในบรรทัดเดียวกันหรือคนละบรรทัดก็ได้, เขียนเป็น ยัติภังค์ ก็มี.
(ยุคนละบาด) น. เท้าทั้งคู่ โดยมากใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ.
ก. แยกกันไปคนละทาง เช่น พองานเลิกต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน, แยกและย้ายไปอยู่คนละแห่ง เช่น เมื่อพ่อแม่ตายลูก ๆ ก็แยกย้ายไปหาที่อยู่ใหม่.
ก. แยกไปคนละทาง, ไม่ลงรอยกัน.
ก. ตั้งข้อรังเกียจ เช่น ต่างฝ่ายต่างก็คอยแต่จะรังคัดรังแคกัน ลูกคนละแม่มักจะรังแครังคัดกัน.
ว. คำประกอบคำนามให้รู้ว่าเป็นหน่วยหนึ่ง ๆ หรือส่วนหนึ่ง ๆ ในจำนวนรวม ซึ่งกำหนดเป็นราย ๆ ไป เช่น คนละ ปีละ, คำประกอบกริยาเพื่อเน้นความให้มีนํ้าหนักขึ้น เช่น ไปละ เอาละ.
ถี่ถ้วน, รอบคอบ, เช่น เจ้าหน้าที่การเงินควรเป็นคนละเอียด, ประณีต เช่น ฝีมือสอยผ้าละเอียด ฝีมือถักเสื้อละเอียด.
น. วิธีบรรเลงทำนองอย่างหนึ่ง แบ่งเครื่องดนตรีเป็น ๒ พวก โดยผลัดกันบรรเลงคนละที เมื่อพวกหน้าบรรเลงเป็นทำนองอย่างหนึ่งแล้ว พวกหลังก็จะบรรเลงทำนองให้ผิดแผกแตกต่างไปอีกอย่างหนึ่ง และทำนองที่ผลัดกันบรรเลงนี้ไม่บังคับว่าจะสั้นยาวเท่าใดหรือจะมีเพียงพยางค์เดียวก็ได้.
น. วิธีบรรเลงทำนองอย่างหนึ่ง แบ่งเครื่องดนตรีเป็น ๒ พวก โดยผลัดกันบรรเลงคนละที เมื่อพวกหน้าบรรเลงเป็นทำนองอย่างใด พวกหลังก็จะบรรเลงเป็นทำนองซํ้าอย่างเดียวกัน และทำนองที่ผลัดกันบรรเลงนี้ไม่บังคับว่าจะสั้นยาวเท่าใดหรือจะมีเพียงพยางค์เดียวก็ได้.
น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น
ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39.