แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
324 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*กรุง*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: กรุง, -กรุง-
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
One day, Father Khwan Khao brought Khwan Khao to leave with Grandpa.
วันหนึ่งคุณพ่อของขวัญข้าวพาขวัญข้าวมาฝากไว้กับคุณปู่ เพราะคุณพ่อต้องไปขับรถส่งผู้โดยสารที่กรุงเทพมหานคร วันนี้คุณปู่พาขวัญข้าว มาดูข้าวที่คุณปู่ได้ปลูกไว้ จนถึงเย็นฝนก็ตกลงมา ขวัญข้าวจึงพูดว่าคุณปู่ตะรีบเข้าบ้านเดี๋ยวไม่สบาย คุณปู่จึงพูดว่าฝนไม่ได้ทำให้ไม่สบายหรอก แต่ต้องไปอาบน้ำ ตอนกลางคืนฝนก็ตกหนักมาก จนขวัญข้าวนอนไม่หลับ ขวัญข้าวตื่นมาให้คุณปู่เล่านิทานให้ฟังปู่เล่านิทานให้ฟังก็ได้ปู่ตอบ มีอยู่วันหนึ่งในดินเเดนแห้งเเร้งทุกคนไม่มีน้ำดื่ม จนกระทั่งวันหนึ่งมีจอบตกลงมาจากบนท้องฟ้า ทุกคนจึงหยิบจอบมาเพื่อขุด แต่ในดินแดนก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทุกคนจึงเลิกขุด เเต่มีเด็กผู้ชายคนหนึ่งขุดไปเรื่อยๆจากที่ขุด1ไร่กลายเป็น2ไร่จากที่ขุด2ไร่กลายเป็น4ไร่ จนเด็กผู้ชายคนนั้นก็ล้มลง จากนั้นฝนก็ได้ตกลงมา ทุกคนจึงมีชีวิตอยู่ พอคูณปู่เล่าเสร็จคุณปู่หันไปไหว้รูปในหลวงรัชกาลที่่9 วันต่อมาโรงเรียนของขวัญข้าวมีกิจกรรมขายของ ขวัญข้าวจึงทำวุ้นมะพร้าวจากสีธรรมชาติ จอมขายมะม่วงกวน วันต่อมาคุณพ่อของขวัญข้าวมาหาขวัญข้าว แล้วทุกคนจึงเปิดโครงการ"ของขวัญจากดิน" เพราะทุกอย่างที่นำมาขายล้วนแต่ปลูกมาจากดbo
รถไฟใต้ดิน
ฉันอยากนั่งรถไฟใต้ดินที่กรุงเทพ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)citySee Also:capital, metropolisSyn.นคร, เมืองใหญ่, เมืองหลวงAnt.ชนบท, บ้านนอกExample:คนชนบทอพยพเข้ากรุง เพื่อหางานทำ
(n)city peopleSyn.คนเมืองกรุง, คนกรุงExample:การชมภาพยนตร์ถือเป็นการพักผ่อนอย่างประหยัดของคนกรุงThai Definition:คนที่เกิดหรือใช้ชีวิตอยู่ในเมืองหลวง
(n)city peopleSee Also:townspeople, residents of a city, townsfolk, urban populationSyn.ชาวเมือง, คนเมืองAnt.ชาวชนบทExample:ชาวกรุงมีชีวิตความเป็นอยู่สะดวกสบายกว่าชาวชนบท เพราะมีเครื่องทุ่นแรงทุกประเภทUnit:คน; กลุ่ม, พวก
(n)SiamSee Also:ThailandSyn.ประเทศสยาม, สยาม, ประเทศไทยExample:กรุงสยามแต่ครั้งโบราณรุ่งเรืองเป็นอันมาก
(n)old capitalExample:พระนครศรีอยุธยาเคยเป็นกรุงเก่าของสยาม
(n)downtownSee Also:center of the city, center of the townAnt.ชานเมือง, นอกเมืองExample:ห้างสรรพสินค้าตั้งอยู่กลางกรุงThai Definition:ย่านศูนย์การค้าของเมือง
(v)clutterSee Also:disorderSyn.รก, รุงรังAnt.เป็นระเบียบExample:เราจะอยู่สุขสบายมิได้ ถ้าในบ้าน และบริเวณบ้านรกรุงรัง
(adj)untidySee Also:cluttered, disordered, messySyn.รก, รุงรังAnt.เป็นระเบียบExample:ผีเสื้อบินอวดปีก ซึ่งแต้มแต่งสีสันลายพร้อย อยู่เหนือพงหญ้ารกรุงรัง
(n)capitalSyn.เมืองหลวง, นครหลวง, พระนครExample:บ้านที่ต่างจังหวัดถูกไฟไหม้ พ่อและแม่จึงต้องหอบหิ้วครอบครัวเข้าสู่เมืองกรุง
(n)Thon BuriSyn.กรุงธน, ธนบุรีExample:ในสมัยกรุงธนบุรีมีการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน
(n)BangkokSee Also:Krung Thep, Krung Thep Maha Nakhon, Bangkok MetropolisSyn.กรุงเทพฯ, บางกอกExample:ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร และมีสาขาในส่วนภูมิภาคอีก 3 แห่ง
(n)RattanakosinExample:คุณตาทวดของฉันเกิดสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
(n)Bangkok Metropolitan AdministrationExample:ผู้ว่าราชการจังหวัดของกรุงเทพมหานครทำงานอยู่ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานครUnit:หลังThai Definition:อาคารสำนักเป็นที่ว่าการของกรุงเทพมหานคร
(n)Bangkok Mass Transit AuthoritySyn.ขสมก.Example:เขาเป็นพนักงานขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(กฺรุง) น. เมืองหลวง, เมืองซึ่งเป็นที่ตั้งรัฐบาลกลาง, แต่ก่อนหมายถึงประเทศก็ได้ เช่น กรุงสยาม กรุงจีน
กษัตริย์ เช่น จึ่งกรุงสุทโธทนเห็นอัศจรรย์ก็ทูลพลันด่งงนี้ (ม. คำหลวง ทศพร).
(กฺรุงขะเหฺมา) น. ชื่อไม้เถาชนิด Cissampelos pareira L. var. hirsuta (Buch.-Ham. ex DC.) Forman ในวงศ์ Menispermaceae ใบรูปสามเหลี่ยมปลายมน ผลกลม เมื่อสุกสีแดง.
(กฺรุง-) น. ภาชนะทำด้วยกาบกล้วย เป็นรูปกระบะสี่เหลี่ยม สำหรับวางเครื่องเซ่นสังเวย เรียกว่า บัตรกรุงพาลี หรือ บัตรพระภูมิ, เรียกสั้น ๆ ว่า บัตรพลี. (มาจากชื่อท้าวพลี).
น. ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวง.
น. ภาชนะทำด้วยกาบกล้วย เป็นรูปกระบะสี่เหลี่ยม สำหรับวางเครื่องเซ่นสังเวย, บัตรพระภูมิ ก็เรียก, เรียกสั้น ๆ ว่า บัตรพลี.
ว. เรียกเพลงชนิดที่คนในกรุงหรือในเมืองนิยม ว่า เพลงลูกกรุง.
กฎหมายงานพระบรมศพครั้งกรุงเก่า
(-ซวง) น. หมู่, พวก, เช่น ทุกหมวดทุกกระทรวงทรง ฤทธิเรื้อง (ยอพระเกียรติกรุงธน), ชนิด, อย่าง, เช่น อนึ่งนั้นอุเบกขาว่าเพ่งเฉย คือแหวกเลยสุขทุกข์อาลัยห่วง ไม่มีทุกข์ไม่มีสุขสิ้นทั้งปวง สามกระทรวงนี้เป็นชื่อเวทนา (ปกีรณำพจนาดถ์), แบบ, อย่าง, กระบวน, เช่น ส่วนองค์พระอัยกาก็ทรงพาหนะหัสดินทร กรินทรราชเป็นทัพหลวงตามกระทรวงพยุหยาตรา (ม. ร่ายยาว มหาราช), โดยสมควรแก่กระทรวงแล้วส่งไป (สามดวง), ผจญคนกลิ้งกลอกกลับหลอกลวง เอากระทรวงสัตย์ซื่อให้เสื่อมเท็จ (สุ. สอนเด็ก).
หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒).
น. เครื่อง, สิ่งของ, เครื่องกิน, เช่น เทียนธูปแลประทีปชวาลา เครื่องโภชนกระยา สังเวยประดับทุกพรรณ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ครั้งกรุงเก่า), เขียนเป็น กรยา ก็มี เช่น พระไพรดมานโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดิยฮอง กรยานุถกลทาบ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ขุนเทพกะวีแต่ง).
(-โหฺนด) น. ตาล เช่น ย่านป่าขายพัดกระโหนดคันกลมคันแบนใหญ่น้อย (อธิบายแผนที่กรุงศรีอยุธยา).
ก. อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี เช่น พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง (ประกาศ ร. ๔).
น. ผ้าชนิดหนึ่ง เช่น คลังถวายผ้ากาษา (กฎ. ราชบุรี ๒/๑๐๗), และพระไตรภูวนาทิตยวงศ์ก็ให้ผ้าลายและเสื้อกาสาคนละสำรับ (พงศ. กรุงเก่า), ฝันว่าห่มผ้าขาวกาสา (ตำราทำนายฝัน).
น. กรุง เช่น จากกุรุงสาวถีกับสงฆ์ ห้าร้อยหย่อนองค์ อดิเรกประดับบริพาร (บุณโณวาท).
(โกฺรม) ว. ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
น. พระอินทร์ เช่น ลํ้าเลอศกรุงโกสีย์ หยาดหล้า (ทวาทศมาส).
น. กรุง, บางทีเขียนเป็น โขง.
น. กฎที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตราขึ้นเพื่อใช้บังคับในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ เช่น ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา.
น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า.
(คฺลุบ) น. ลูกขลุบ เช่น ม้าคลุบคลีกระบี่ม้า วิ่งม้าพนันเร็ว (ยอพระเกียรติกรุงธน).
ก. ตะบัน, ทิ่มหรือแทงกดลงไป, กระทุ้ง, เช่น ดาบดั้งดึงโดดดั้น จะบันแรง (ยอพระเกียรติกรุงธน).
เชื้อสายของพระมหากษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป และผู้ได้รับสถาปนาอิสริยยศขึ้นเป็นเจ้า, บางแห่งหมายถึงกษัตริย์ก็มี เช่น เจ้ากรุงจีน
น. เมืองเล็กที่ขึ้นแก่เมืองหลวง เช่น ณกรุงพระมหานครศุโขไทยราชธานีบูรีรมย์สถาน เปนปิ่นอาณาประชาราษฎรชาวชนบทนิคมคามสยามประเทศทั้งมวน มีเมืองขึ้น ออก เอก โท ตรี จัตวา ช่วงเมือง กิ่งเมือง แผ่ผ้านพระราชอาชญาอาณาเขตร (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์).
ก. เป็น, ให้เป็น, เช่น มนตร์ชากรุงชนะ (ดุษฎีสังเวย)
โดยปริยายหมายถึง คนดีมีวิชาเป็นต้นที่เกิดในชนบทแล้วมามีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในกรุง.
คำกล่าวติเตียน ตัดพ้อ หรือผิดหวัง เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาจะหาไหน พี่น้องพร้อมพรั่งช่างกระไร แต่จะยกมือไหว้ก็ไม่มี (สังข์ทอง), คำกล่าวแสดงความตื่นเต้น เช่น น้องเอ๋ยรูปร่างช่างกระไร นางในกรุงศรีไม่มีเทียม (ขุนช้างขุนแผน).
น. ตำรวจผู้มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายในเขตกรุงเทพมหานคร.
น. ตำรวจผู้มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายนอกกรุงเทพมหานคร.
(ทะวาระบด) น. ทางเข้าออก เช่น อันกำแพงเชิงเทินป้อมปราการที่ล้อมกรุง รวมทั้งทวารบถทางเข้านครเล่า (กามนิต).
ก. อพยพครอบครัว, กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากถิ่นฐานเดิมไปไว้ที่อื่น, เช่น ในปีเดียวนั้นให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวงลงมายังกรุงพระนครศรีอยุทธยา (พงศ. ประเสริฐ)
ก. เปรียบ, คล้ายคลึง, เหมือน, เช่น ไม่เคลือบแคลงมิดเมี้ยน คำราชอาจเทียบเที้ยน ที่ถ้อยตูแถลงนี้แล (สามกรุง).
(นะคอน, นะคะระ-) น. เมืองใหญ่, กรุง.
(นะคอนบาน) น. เรียกตำรวจที่มีหน้าที่ระวังและระงับเหตุการณ์ทางอาญาในกรุงเทพมหานครว่า ตำรวจนครบาล
(นะรึ-) ก. ตาย (ใช้แก่พระมหากษัตริย์บางพระองค์ เท่าที่ปรากฏในเอกสารสมัยอยุธยา) เช่น ครั้งนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้าเสด็จนฤพาน (พงศ. กรุงเก่า).
ว. พ้นออกไปจากภายในหรือร่วมใน เช่น นอกเรือน นอกประเทศ นอกกาย นอกตำแหน่ง, ต่างประเทศ เช่น ของนอก ไปนอก, เรียกเขตที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป ว่า บ้านนอก, เรียกประเทศในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า เมืองนอก, เรียกผลไม้ที่เอามาจากนอกกรุงหรือเขตปริมณฑล เช่น เงาะนอก ทุเรียนนอก, คู่กับ ผลไม้ในกรุงหรือเขตปริมณฑล เช่น เงาะสวน ทุเรียนสวน.
น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๘ คำ บังคับซ้ำเสียงพยัญชนะ ๓ คำ คือ คำท้ายวรรค (คำที่ ๖, ๗ และ ๘) กับ ๓ คำต้นวรรคถัดไป (คำที่ ๑, ๒ และ ๓) และซ้ำเสียงสระวรรคละ ๓ คู่ ในคำที่ ๓ กับ ๔ คำที่ ๕ กับ ๗ และคำที่ ๘ กับคำที่ ๑ ในวรรคถัดไป เช่น กรุงกระษัตริย์ตรัสฟังแค้นคั่งจิตร คิดแค้นใจไหวหวิดในจิตรฉงน จนฉงายกายไฉงใจร้อนรน จนร้าวราญการกระมลจิตรวนเวียน (ศิริวิบุลกิตติ์).
(นาคอน) น. ชาวนคร, ชาวกรุง.
ว. มากมาย, อัดแอ, คับคั่ง, ยัดเยียด, เช่น กรุงกษัตริย์มาพร้อมประชุมกัน แน่นนันต์ในพระลานชัยศรี (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ดู บัตรกรุงพาลี.
(บัดพะลี) น. ภาชนะทำด้วยกาบกล้วย เป็นรูปกระบะสี่เหลี่ยม สำหรับวางเครื่องเซ่นสังเวย, เรียกเต็มว่า บัตรกรุงพาลี หรือ บัตรพระภูมิ, ถ้าทำเป็นรูปสามเหลี่ยม เรียกว่า บัตรคางหมู, ถ้ามีเสาธงประกอบตั้งแต่ ๔ เสาขึ้นไป เรียกว่า บัตรพระเกตุ, ถ้าทำเป็นรูปสี่เหลี่ยม มียอด เรียกว่า บัตรนพเคราะห์.
น. บ้านที่อยู่อาศัย เช่น บ้านช่องรกรุงรัง.
น. เขตแดนที่พ้นจากเมืองหลวงออกไป, เขตที่อยู่นอกตัวเมือง, คนที่เป็นชาวไร่ชาวนาอยู่นอกกรุงหรือเมืองหลวง, บ้านนอกขอกนา หรือ บ้านนอกคอกนา ก็ว่า.
น. เอกสารที่กรมศุลกากรออกให้แก่เรือที่มีระวางจดทะเบียนตํ่ากว่า ๒๐๐ ตัน ที่ออกจากท่าเรือกรุงเทพฯ เพื่อส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อนำเรือผ่านด่านศุลกากรที่ปากนํ้าสมุทรปราการ.
(ปะริมนทน) น. วงรอบ, จังหวัดรอบกรุงเทพมหานคร ได้แก่ นครปฐม นนทบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา และปทุมธานี
ละเลย เช่น ปล่อยให้บ้านรกรุงรัง ปล่อยให้นํ้าล้น
น. ตำแหน่งสมณศักดิ์ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี.
(โปรีสะพา) น. เรียกศาลชั้นตํ่าในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันคือ ศาลแขวง.
น. เครื่องหมายละคำ รูปดังนี้ ฯ เรียกว่า ไปยาลน้อย สำหรับละคำที่ประกอบคำหน้า เช่น กรุงเทพฯ โปรดเกล้าฯ, รูปดังนี้ ฯลฯ หรือ ฯเปฯ เรียกว่า ไปยาลใหญ่ สำหรับละข้อความข้างท้าย เช่น ในป่ามีช้าง เสือ ลิง ค่าง ฯลฯ อ่านว่า “ละ”, หรือละข้อความในระหว่าง เช่น เพลงสรรเสริญพระบารมีว่า ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ดุจถวายชัย ชโย อ่านว่า “ละถึง”, เปยยาล ก็เรียก.
(-สาวะดาน) น. เรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น เช่น พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
อนุสัญญากรุงเฮก[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
สนธิสัญญากรุงปารีสExample:จัดตั้งเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ.1883 มีผลบังคับใช้เมื่อ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1884 และมีการปรับปรุงเมื่อ 2 มิถุนายน 1934 / 14 กรกฎาคม 1967 มีการลงนามว่า อนุญาตให้สามารถยื่นขอรับสิทธิครั้งที่ 2 ต้องไม่เกิน 1 ปี ที่ยื่นครั้งแรกในประเทศตนเองนั้น ในกลุ่มประเทศสมาชิกและสามารถอ้างวันที่ยื่นฉบับดั้งเดิมในครั้งแรกได้[ทรัพย์สินทางปัญญา]
ม้ากรุงทรอยExample:โปรแกรมอันตรายที่แปลงโฉมมาในรูปของโปรแกรมที่เป็นประโยชน์ เมื่อเรานำโปรแกรมนี้มาดำเนินการทุกอย่างดูจะเรียบร้อยเป็นปกติ แต่ในส่วนหลักของโปรแกรมนั้นอาจจะกำลังลบแฟ้มต่างๆ ออกจากจานแม่เหล็ก หรืออาจจะทำงานอื่นๆ ที่เป็นพิษภัยต่อแฟ้มของเราก็ได้ โปรแกรมประเภทนี้โดยปกติไม่ติด หรือก๊อบปี้ตัวเองไปบันทึกลในแผ่นแม่เหล็กอื่น คงมีพบเฉพาะคอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรมนี้เท่านั้น[คอมพิวเตอร์]
ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, ไอเออีเอ, หน่วยงานสากลด้านความร่วมมือทางนิวเคลียร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 ภายใต้องค์การสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลก ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษยชาติ[นิวเคลียร์]
กรุงเทพฯ[TU Subject Heading]
ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์กรุงเทพฯ[TU Subject Heading]
อนุสัญญากรุงปารีสว่าด้วยความคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม (ค.ศ. 1883)[TU Subject Heading]
ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (ค.ศ. 1998)[TU Subject Heading]
สงครามกรุงทรอย[TU Subject Heading]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงปักกิ่ง " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง ปักกิ่ง มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของ อาเซียนในการมีปฏิสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีนที่กรุงปักกิ่ง[การทูต]
ศูนย์พลังงานอาเซียน " จัดตั้งขึ้นที่กรุงจาการ์ตา เมื่อเดือนมกราคม 2542 มีหน้าที่ในการแสวง หาความร่วมมือระหว่างสมาชิกอาเซียนและกับประเทศนอกภูมิภาคในการศึกษา วิจัยและดำเนินโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนาด้านพลังงาน "[การทูต]
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโซล ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำ กรุงโซล มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับสาธารณรัฐเกาหลีที่กรุงโซล[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงโตเกียว ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตอาเซียน 10 ประเทศซึ่งประจำที่กรุง โตเกียว มีการหารือเป็นประจำทุก 1-2 เดือน หรือตามความจำเป็น[การทูต]
ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2509 มีสมาชิกทั้งหมด 59 ประเทศ (สถานะเมื่อ เดือนตุลาคม 2543) แบ่งเป็นประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก 43 ประเทศ (รวมทั้งไทย) และประเทศที่อยู่นอกภูมิภาคอีก 16 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์[การทูต]
กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน[การทูต]
โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย[การทูต]
กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม[การทูต]
มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา[การทูต]
การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียนกับผู้แทนจากจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 ในช่วงการประชุม ประจำปีของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) ที่กรุงมะนิลา และได้ ตกลงในหลักการที่จะจัดเป็นประจำทุกปี เพื่อหารือสถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจในภูมิภาค และร่วมมือหามาตรการเพื่อป้องกันและแก้ไขวิกฤตการณ์การเงินในภูมิภาค ผลงานที่สำคัญคือ ข้อตกลงริเริ่มที่เชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative)[การทูต]
การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง[การทูต]
องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว[การทูต]
คณะกรรมการอาเซียนประจำกรุงนิวเดลี " ประกอบด้วยเอกอัครราชทูตของประเทศสมาชิกอาเซียนประจำกรุง นิวเดลี มีหน้าที่ในการประสานผลประโยชน์และเป็นกลไกกลางของอาเซียนในการมีปฏิ สัมพันธ์กับอินเดียที่กรุงนิวเดลี "[การทูต]
ศูนย์ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวอาเซียน (ศูนย์อาเซียน) " ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ภายใต้ความตกลงระหว่างญี่ปุ่นกับประเทศสมาชิกอาเซียน มีสำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงโตเกียว เพื่อส่งเสริมการส่งออกสินค้าอาเซียนไปยังญี่ปุ่น ส่งเสริมการลงทุนของญี่ปุ่นในอาเซียน และส่งเสริมนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นให้เดินทางไปท่องเที่ยวในประเทศสมาชิก อาเซียน "[การทูต]
เขตการค้าเสรีอาหรับ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 โดยมติที่ประชุมสุดยอดอาหรับที่กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ (มิถุนายน 2539)[การทูต]
ศูนย์อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียน จัดตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับสหภาพยุโรป มีสำนักงานเลขาธิการตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม[การทูต]
การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) "[การทูต]
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 เพื่อร่วมมือและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์และการบริหารในภูมิภาค โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อมาบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกประเทศที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2527 เวียดนามเป็นสมาชิกประเทศที่ 7 ในปี พ.ศ. 2538 ลาวและพม่าเข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันในปี พ.ศ. 2540 และกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับสุดท้ายหรือประเทศที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2542[การทูต]
สำนักเลขาธิการอาเซียน " ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา มีหน้าที่ให้การสนับสนุนงานการประชุม ประสานงาน และเสนอข้อคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และมีเลขาธิการอาเซียนเป็น หัวหน้าสำนักงาน อยู่ในตำแหน่งคราวละ 5 ปี ทั้งนี้ นายแผน วรรณเมธี เป็นคนไทยคนเดียวที่เคยดำรงตำแหน่งนี้ ระหว่าง ปี พ.ศ. 2527-2529 "[การทูต]
กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต "[การทูต]
วิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 เป็นเอกสารซึ่งที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2540 ได้ให้ความเห็นชอบ เพื่อแสดงถึงความมุ่งมั่นและพันธกรณีของอาเซียนที่จะนำประชาชนในภูมิภาคนี้ ไปสู่ (1) การเป็นภูมิภาคที่มีสันติภาพและเสถียรภาพ (2) ความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งด้วยการรวมตัวทางเศรษฐกิจ อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น (3) การเป็นสังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นปึกแผ่นและเอื้ออาทรต่อกัน และ (4) การกระชับความสัมพันธ์กับคู่เจรจาและโลกภายนอก บนพื้นฐานของความเป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันและมีความเคารพซึ่งกันและกัน[การทูต]
ความสัมพันธ์อาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธาณรัฐเกาหลี เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ที่เริ่มมีขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งผู้นำของ อาเซียน จีน ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยในปี พ.ศ. 2542 ผู้นำอาเซียน+3 ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นหลักการพื้นฐานของการเสริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง[การทูต]
การประชุมผู้นำอาเซียน-สหประชาชาติ เป็นการประชุมระหว่างหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนกับเลขาธิการสห ประชาชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 ที่กรุงเทพฯ ในช่วงการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10[การทูต]
การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 "[การทูต]
ความร่วมมือระหว่างเอเชียกับแอฟริกา " เป็นความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับ ภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบการประชุมระหว่างประเทศเพื่อ การพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว (Tokyo International Conference on African Development - TICAD) "[การทูต]
ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ "[การทูต]
แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด[การทูต]
การประชุมระหว่างไทยกับอาร์เจนตินาที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนสิงหาคม 2547 เพื่อเตรียมการประชุมคณะกรรมการร่วมไทย-อาร์เจนตินา ครั้งที่ 1 (Thai-Argentine Joint Committee ? JC)[การทูต]
กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา และไทย " ในช่วงแรกบังกลาเทศ-อินเดีย-พม่า-ไทย ได้ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อจัดตั้งความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังกลาเทศ-อินเดีย-ศรีลังกา-ไทย (BIST-EC) เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2540 ต่อมา ได้รับพม่าเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการ และเปลี่ยนชื่อจาก BIST-EC เป็น BIMST-EC เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2540 "[การทูต]
การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้[การทูต]
ตราบัวแก้ว ตราบัวแก้วซึ่งเป็นรูปเทพยดานั่งในดอกบัว ถือดอกบัวข้างขวา ถือวชิระข้างซ้ายนั้น เป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งใช้มาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตราบัวแก้วเป็นตราซึ่งเจ้าพระยาพระคลังใช้ประทับในเอกสารของกรมท่า และที่เกี่ยวข้องกับต่างประเทศ เช่น สนธิสัญญาต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2418 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกราชการด้านการคลังออกจากกรมท่า ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำตำแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์กรมท่า และต่อมาเมื่อได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดระบบราชการใหม่โดยแบ่งเป็น 12 กระทรวง ตราบัวแก้วจึงเป็นตราประจำเสนาบดีว่าการต่างประเทศ และกลายมาเป็นตราของกระทรวงการต่างประเทศ[การทูต]
การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน[การทูต]
คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น[การทูต]
ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง[การทูต]
ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ[การทูต]
ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ[การทูต]
เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น[การทูต]
ในภาษาไทยแปลว่า อนุสัญญา แต่คำนี้ใช้แทนคำว่า สนธิสัญญา (Treaty) บ่อย ๆ ผู้เขียนหลายท่านเห็นว่า ทั้งสองคำนี้ไม่ค่อยจะมีความหมายแตกต่างกันมากนัก แม้ว่าคำ Convention มักจะใช้กันเป็นประจำ โดยหมายถึงความตกลงที่กระทำกันในการประชุมระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่กระทำกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ถึง 14 เมษายน ค.ศ. 1961 (The Vienna Convention on Diplomatic Relations)[การทูต]
อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน[การทูต]
สำนักเลขาธิการแผนโคลัมโบ สำนักเลขาธิการแผนโคลัมโบ ตั้งอยู่ที่กรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา โดยมีเลขาธิการแผนโคลัมโบเป็นผู้บริหารงานภายใต้แผนโคลัมโบ ซึ่งเป็นความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจแงะสังคมในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิก[การทูต]
ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
และผมขอเตือนนักกีฬาทุกท่านว่า อันดับ 1-4 เท่านั้น... ที่จะได้สิทธิ์เป็นตัวแทน ของจาไมก้า... ไปแข่งที่กรุงโซล ประเทศเกาหลีCool Runnings (1993)
ผมไปถึงในกรุงลอนดอน เมื่อมิถุนายน 26In the Name of the Father (1993)
... รอบกรุงลอนดอน และจับกุมผู้ต้องสงสัย 19In the Name of the Father (1993)
เขาพาผมไป ภาคใต้ศูนย์ส่งกลับกรุงลอนดอนIn the Name of the Father (1993)
ผมอยู่ในสวนสาธารณะในกรุงลอนดอน ในขณะนั้นIn the Name of the Father (1993)
ในกรุงแอลเจียร์ แม้ว่า เอกอัครราชทูตฝรั่งเศส มีความต้องการมาถึง และสถานการณ์ดูเหมือน จะมีเสถียรภาพมากขึ้นWild Reeds (1994)
...แล้วมีค่ายิ่งกับชาวกรุงผู้ศิวิไลซ์ เหรียญเปรียญแห่งวิญญาณจะนำคำตอบมาให้โยมAce Ventura: When Nature Calls (1995)
สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงปารีสThe Ugly American (1963)
กรุงลอนดอน สีแดงHelp! (1965)
หนุ่มกรุงแบบนายมาทำอะไร ในเมืองสั่ว ๆ แบบนี้Blazing Saddles (1974)
เรามีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่กรุง วี เยรูซาเล็มMad Max (1979)
วิ่งอย่างรวดเร็วจากวีกรุง เยรูซาเล็มMad Max (1979)
หญิงสาวที่ไม่ได้แสดง ชาวกรุงไม่ได้แสดงMad Max (1979)
ชุดของนักโบราญคดีเยอรมัน เข้าไปในทะเลทราย นอกกรุงไคโรIndiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981)
ฉันได้ละทิ้งพวกเขาในหนึ่งสัปดาห์ และกลับไปยังกรุงบรัสเซลส์Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในกรุง ลอนดอนเมื่อวานนี้ ... ต้องได้รับความสุขอย่างมากให้กับคุณGreystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
ผมเองก็ทำงานในกรุงวอชิงตันด้วยClue (1985)
แล้วคุณทำอะไรในกรุงวอชิงตันดีซี? คุณกรีนClue (1985)
Bud Schnelker ฝ่ายประสานงาน กงศุลสหรัฐ ประจำกรุงการาจีSpies Like Us (1985)
ก็เมื่อวาน ฉันเห็นนายต่อสู้Nไม้กระบองที่โกดังในกรุงเทพRambo III (1988)
เขาเกิดที่ นอร์ธ ดาโกต้าในปี 1896 ไม่เคยเห็นเมืองกรุงจนกระทั่ง เขากลับมาจากฝรั่งเศสในปี 1918Field of Dreams (1989)
"กรุงเวนิส , ประเทศอิตาลี."Indiana Jones and the Last Crusade (1989)
ฉันจะไปกับที่รัสเซล แต่ฉันต้องการโจและลาร์รีกับเขาในกรุงลอนดอนThe Russia House (1990)
คุณกลับไปยังกรุงมอสโกมา?The Russia House (1990)
ดีที่สิ่งที่คุณต้องการไม่ได้หรือไม่ ที่จะกลับไปที่กรุงมอสโก ที่จะเห็นมันผ่านThe Russia House (1990)
ดันเต้มาถึงกรุงมอสโกในวันศุกร์ที่ เขายืมพาร์ทเมนต์ที่The Russia House (1990)
แต่ตามมาตรฐานของกรุงมอสโก ...The Russia House (1990)
ตำรวจเชื่อว่าเขายังอยู่ในกรุงวอชิงตันThe Jackal (1997)
บ้านมันรกรุงรัง ฉันก็เลยเก็บกวาดให้มันดูดีหน่อยThe Red Violin (1998)
ในวันไถ่บาปนั้น ทั้งอิสราเอล จะมาพร้อมกันที่กรุงเยรูซาเล็ม เฝ้าคอยองค์มหาสมณะ โคเฮน กอดุล ผ่านเข้าไปยังดินแดนมหาศักดิ์สิทธิ์Pi (1998)
เฟิร์กบอกเราว่า พี่ชายของเขาใช้จ่ายไม่ถึง $500 ตอนช่วงฤดูร้อนที่กรุงเทพBrokedown Palace (1999)
ทีนี้ก็เรื่องฉันกำลังไปกรุงเทพอีกBrokedown Palace (1999)
มีพ่อค้าแม่ค้าจำนวนมากในกรุงเทพที่ค้านกเพื่อสิ่งนี้Brokedown Palace (1999)
ภรรยาผม ยอน ที่เป็นทนายความฝึกหัด... ...ก็เกิดที่กรุงเทพBrokedown Palace (1999)
ลูกคิดว่าพระองค์เป็นคนอย่างไร พระเจ้ากรุงสยามน่ะ?Anna and the King (1999)
พระเดชพระคุณ, เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ สมุหพระกลาโหมแห่งกรุงสยามAnna and the King (1999)
ในกรุงสยาม, นายท่าน, มันเป็นเพียงธรรมเนียม เป็นคำถามตามธรรมชาติของมนุษย์ เราถือว่ามันเป็นมารยาทAnna and the King (1999)
ในกรุงสยามนี้, นายท่าน, ท่านจะได้เรียนรู้ ทุกๆอย่างไปเองAnna and the King (1999)
พระราชามีพระกรณียกิจที่ต้อง บำบัดทุกบำรุงสุข ในทุกๆที่ของกรุงสยามAnna and the King (1999)
พ่อของหนู เขาไปสัมนาที่กรุงโซลน่ะIl Mare (2000)
ผู้ว่าราชการ กรุงวอร์ซอว์ ด็อกเตอร์ฟิชเชอร์The Pianist (2002)
รายงานการปรากฎครั้งแรกจากเครื่อง แอร์ เม็กซิโก 7 4 7 ที่เดินทางจากมาซาทลานไปนิวยอร์ค โดยพบที่น่านฟ้าเหนือกรุงเม็กซิโก ซิตี้Signs (2002)
ศาลแขวงกรุงโซลUninvited (2003)
ว่าไงนะ ฉันขอให้แกช่วยไปกรุงโซลCrazy First Love (2003)
ในตอนเจ็ดโมงครึ่ง ข้างบน ห้าสิบเมตรของ สพานซังซูในกรุงโซล ได้พับบรรจบกันตรงกลางOldboy (2003)
ฉันเลยโทรหาทุกแหล่งข่าวมที่ฉันมี ตั้งแต่ปารีสจนถึงกรุงเทพSky Captain and the World of Tomorrow (2004)
ไม่งั้น ฉันจะบอกเมียแก เรื่องที่แกแว๊บไปเที่ยวที่กรุงเทพAnacondas: The Hunt for the Blood Orchid (2004)
แต่กรุงโรมไม่ได้สร้างเสร็จในวันเดียวนะSpygirl (2004)
ชั้นเลิศสั่งตรงจากกรุงฮาวานา คิวบา... เนี่ยซี่... เขาถึงเรียกว่ามีสไตล์Hotel Rwanda (2004)
รีพับบริคกัน การ์ด (หน่วยปกป้องรัฐบาลกรุงแบกแดดในประเทศอิรัก)Pilot: Part 2 (2004)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[chāo krung] (n, exp) EN: city dweller ; townsman ; townspeople ; city folk ; city people  FR: citadin [ m ] ; habitant d'une ville [ m ]
[Chāo Krungthēp] (n, prop) FR: Bangkokois [ m ] ; Bangkokoise [ f[ ; Bangkokien [ m ] ; Bangkokienne [ f ]
[Hø Sinlapa Watthanatham haeng Krungthēp Mahānakhøn] (x) EN: Bangkok Art & Culture Centre
[khon krung] (n, exp) EN: city people
[khwām penyū nai Krungthēp] (n, exp) EN: living in Bangkok  FR: la vie à Bangkok
[krung] (n) EN: capital ; city ; metropolis  FR: capitale [ f ] ; métropole [ f ] ; cité [ f ] ; mégalopole [ f ]
[krung] (n) EN: state ; country ; nation ; kingdom  FR: pays [ m ] ; nation [ f ] ; royaume [ m ]
[krung] (adj) EN: urban  FR: urbain
[Krung Khairō] (n, prop) EN: Cairo  FR: Le Caire
[Krung Løndøn] (n, prop) EN: London ; London City  FR: Londres
[Krung Sayām] (n, prop) EN: Kingdom of Siam  FR: royaume de Siam [ m ]
[Krungthēp] (n, prop) EN: Bangkok  FR: Bangkok
[Krungthēp] (n, prop) EN: Bangkok  FR: Bangkok
[Krungthēp Mahānakhøn] (n, prop) EN: Greater Bangkok ; Bangkok Metropolis ; Bangkok  FR: Grand Bangkok [ m ] ; agglomération de Bangkok [ f ] ; Bangkok
[Krungthēp Phra Mahānakhøn] (n, prop) EN: God's city ; city of the gods ; city of angels ; Bangkok
[Krungthēp Thurakit] (tm) EN: Krungthep Thurakij  FR: Krungthep Thurakij [ m ]
[phūwārātchakān Krungthēp Mahānakhøn] (n, exp) EN: Bangkok governor   FR: gouverneur de Bangkok [ m ]
[Sālā wā kān Krūngthēp Mahānakhøn] (x) EN: Bangkok Metropolitan Administration
[samai krung Sukhōthai] (n, exp) EN: Sukhothai era ; Sukhothai period  FR: époque de Sukhothai [ f ]
[sanām kīlā krung Rōm Khōlisīem] (n, prop) EN: Coliseum  FR: Colisée [ m ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Brassēl] (n, prop) EN: royal Thai Embassy in Brussels  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Bruxelles [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Kūalā Lampoē] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Kuala Lumpur  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Kuala Lumpur [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Løndøn] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in London  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Londres [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Manilā] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Manila  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Manille [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Møskō] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Moskow  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Moscou [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Pārit] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Paris  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Paris [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Tōkīo] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Tokyo  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Tokyo [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Wīennā] (n, prop) EN: Royal thai Embassy in Vienna  FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Vienne [ f ]
[Sathān Ēk-akkharātchathūt Thai na Krung Wøchingtan Dī.Sī.] (n, prop) EN: Royal Thai Embassy in Washington, D.C.,   FR: Ambassade Royale de Thaïlande à Washington [ f ]
[Sathān Sadaēng Phan Sat Nām Jeūt Krungthēp Mahānakhøn] (org) EN: Bangkok Aquarium
[Sathānthūt Angkrit Prajam Krungthēp] (n, prop) EN: British Embassy in Bangkok  FR: Ambassade de Grande-Bretagne à Bangkpk [ f ]
[Somdēt Phrajāo Krung Thonburī] (n, prop) EN: Taksin ; King Taksin ; the King of Thonburi
[Thanākhān Krung Si Ayutthayā] (tm) EN: Bank of Ayudhya ; Krungsri  FR: Bank of Ayudhya ; Krungsri
[Thanākhān Krung Thai] (tm) EN: Krung Thai Bank (KTB)  FR: Krung Thai Bank (KTB)
[Thanākhān Krungthēp] (tm) EN: Bangkok Bank ; BBL  FR: Bangkok Bank ; BBL
[Thanon Jaroēn Krung] (n, prop) EN: Charoen Krung Road ; Thanon Charoen Krung
[yū Krungthēp] (v, exp) EN: be in Bangkok  FR: être à Bangkok
Longdo Approved EN-TH
กรุงเทพมหานคร
(n, name, uniq)มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มหาวิทยาลัยแบบไม่ต้องสอบเข้า ไม่จำกัดอายุ เพศ หรืออัตตลักษณ์ทางเพศ ตั้งอยู่ที่ ถ.รามคำแหง เขตหัวหมาก กรุงเทพมหานคร, www.RU.ac.thSee Also:Open University
(n)ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เมืองบาบิลอน (สถานที่ท่องเที่ยวในกรุงนิวยอร์ก)
(n)กรุงเทพมหานคร (เมืองหลวงของประเทศไทย)See Also:บางกอก, จังหวัดกรุงเทพมหานคร
(n)ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
(n)มัดไม้ที่หุ้มขวานที่มีใบขวานโผล่ออกมาSee Also:สัญลักษณ์การมีอำนาจของผู้ปกครองชั้นสูงของกรุงโรมโบราณ
(n)มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะSyn.haji, hajji
(n)มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะSyn.hajji
(n)มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะSyn.haji
(n)ย่านหนึ่งของกรุงนิวยอร์กทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของแมนแฮตตันSee Also:ฮาเล็ม
(n)ชื่อเมืองหลวงของปากีสถานSee Also:กรุงอิสลามาบัด
(n)กรุงมะนิลาของประเทศฟิลิปปินส์
(n)กรุงเมกกะในประเทศอียิปต์ (สถานที่กำเนิดพระมูฮัมเหม็ด)
(n)สภาพรกรุงรังSee Also:สภาพสกปรกและไม่เรียบร้อยSyn.muddle
(n)โพรงบนผนังซึ่งหันไปทางกรุงเมกกะ (ในมัสยิด)
(n)กรุงมอสโคว์ เป็นเมืองหลวงของรัสเซีย
(n)กษัตริย์นีโรของกรุงโรม
(n)เมืองปารีส (ของฝรั่งเศส)See Also:กรุงปารีส
(n)วิหารพาร์ทีนอนในกรุงเอเธนส์สร้างเมื่อ 438 ปีก่อนคริสตกาล
(n)กรุงปักกิ่ง (ชื่อเดิมของ Beijing)See Also:เมืองปักกิ่งSyn.Beijing
(n)ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณ
(n)ผู้พิพากษาสมัยกรุงโรมโบราณSee Also:ขุนนางผู้ปกครองคนหนึ่งของกรุงโรมSyn.praetor
(n)กรุงโรมของประเทศอิตาลี
(n)ถนนในกรุงลอนดอน
(n)กรุงโซลซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศเกาหลีใต้
(n)กรุงสต็อกโฮล์ม เมืองหลวงของสวีเดน
(n)กรุงเตห์รานเป็นเมืองหลวงของอิหร่านSee Also:กรุงเตหะรานSyn.Teheran
(n)กรุงเทลอะวีฟเป็นเมืองท่าของประเทศอิสราเอล
(n)เมืองโตเกียวSee Also:กรุงโตเกียว
(n)เมืองวาติกันของกรุงโรม
(adj)เกี่ยวกับกรุงเวนิส (ประเทศอิตาลี)See Also:เกี่ยวกับชาวเวนิส ภาษา หรือวัฒนธรรมของชาวเวนิส
(n)กรุงเวนิส (ในประเทศอิตาลี)
(adj)เกี่ยวกับกรุงเวียนนาSee Also:เกี่ยวกับลักษณะของเวียนนา
(n)ถนนวอลสตรีท เป็นถนนในกรุงนิวยอร์กSee Also:ย่านศูนย์กลางทางธุรกิจและการเงินสำคัญของสหรัฐอเมริกา
(n)กรุงวอชิงตัน ดี ซี เป็นเมืองหลวงของอเมริกา
(n)กรุงวอชิงตัน ดี ซี เป็นเมืองหลวงของอเมริกา
(n)วิหารเวสท์มินสเตอร์ ตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน
(n)ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน ดี ซีSyn.Executive Mansion
(n)ชื่อถนนในกรุงลอนดอน
(n)รัฐบาลอังกฤษ (เพราะที่ตั้งของหลายกระทรวงอยู่บนถนน Whitehall ในกรุงลอนดอน)
Hope Dictionary
(แอ็บ' บะซิด) n. สมาชิกของราชวงศ์กาลิปส์ (caliphs) ในกรุงแบกแดดสมัยโบราณ
(อี' เจียส) n. ชื่อกษัตริย์ในกรุงเอเธนส์เป็นบิดาของ Theseus
(อาน' โน อัวบิส คอน' ดิทิ) นับตั้งแต่วันสร้างเมือง (กรุงโรม A. U. C.)
(อาร์'คอน) n. หัวหน้าผู้พิพากษาในกรุงเอเธนส์สมัยโบราณ -archonship n.
(อะธี'เนียน) adj. เกี่ยวกับกรุงเอเธนส์ของกรีก. -n. ชาวเอเธนส์
(แอธ'เธน') n. กรุงเอเธนส์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของกรีก (capital of Greece)
abbr. 1. atmosphere, atmospheric 2. (เอทีเอ็ม) ย่อมาจาก automatic teller machine แปลว่า เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงิน ได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ <คำแปล>นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
(แบง'คอค) n. กรุงเทพ, บางกอก
(เบสทีล') n. คุกและป้อมปราการที่ขังนักโทษการเมืองในกรุงปารีส และถูกพวกกบฏยึดได้เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789, คุก, ป้อมปราการSyn.bastile
(บรอด'เวย์) n. ชื่อถนนสายใหญ่ในกรุงนิวยอร์ก, ย่านโรงละครโรงภาพยนต์ที่อยู่ในบริเวณถนนดังกล่าว adj. เกี่ยวกับอุตสาหกรรมโรงภาพยนต์หรือโรงละครSee Also:broadwayite n.
(แคลคัท'ทะ) n. กรุงกัลกัตตา, ชื่อเมืองท่าของอินเดีย
n. กรุงเยรูซาเล็ม, เมืองสวรรค์
(ซิท'ที) n. กรุงนคร, เมืองใหญ่, เมือง, หัวเมือง, นครรัฐ, เขต -Phr. (the Holy City กรุงเยรูซาเลม)
(ซิฟ'วิค) adj. (เกี่ยวกับ) เมือง (นคร, กรุง) , เทศบาล, สัญชาติ, พลเรือน (พลเมือง, ประชากร) , ที่เป็นประโยชน์แก่เมือง
(ไอ'เฟีล) n. หอสูงที่ทำด้วยเหล็กในกรุงปารีส
ถนนสายที่ 5 ในกรุงนิวยอร์ก
(กอน'ดาละ) n. เรือแจวโดยสารท้องแบนลำตัวยาวในลำคลองกรุงเวนิส
(แฮจ) n. การเดินทางไปนมัสการสิ่งที่เคารพที่กรุงเมกกะซึ่งชาวมุสลิมทุกคนต้องไปครั้งหนึ่งอย่างน้อยในชีวิต -pl. hajjisSyn.hadj
(แฮจ'จี) n. มุสลิมทีเดินทางไปนมัสการ, สิ่งที่เคารพในกรุงเมกกะ -pl. hajjisSyn.hadji, haji
นครศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา, สวรรค์, กรุงเยรูซาเลม
(เครม'ลิน) n. ที่ทำการของรัฐบาลรัสเซียในกรุงมอสโก, ราชวังเครมลิน, รัฐบาลรัสเซีย
n. ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน
(ลอน'เดิน) n. กรุงลอนดอน
(ลูพ) n. ห่วง, ขมวด, วง, บ่วง, รูห่วง, การตีลังกา, วงจรปิดของไฟฟ้าหรือแม่เหล็ก, ทางวงแหวน, ทางหลบรถ, เส้นกลับ, การกลับ, รูกำแพง, รูเล็ก ๆ หรือแคบ ๆ vt. กลายเป็นห่วง, ทำเป็นห่วง, ทำให้เคลื่อนที่เป็นรูปวงแหวน. vi. ทำให้เป็นห่วง, กลายเป็นห่วง -Phr. (the Loop ย่านธุรกิจในกรุงชิคาโก, ห่วงคุมกำเนิดที่ใช้ใส่เข่าไปในช่องคลอด
คนสังคมจัด, ผู้มีบทบาทมากในสังคม, ชาวกรุง
(มัส'คะไวทฺ) n. ประชาชนในกรุงมอสโก
(พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ.See Also:praetorship n.
(พรี'เทอะ) n. ผู้พิพากษาหรือขุนนางผู้ปกครองของกรุงโรมโบราณ.See Also:praetorship n.
(ทอล'ละมี) n. นักดาราศาสตร์ (โบราณของกรุงอเล็คซานเดรีย) (ค.ศ.129-151)See Also:Ptolemaist n.
(แรงกูน') n. ชื่อเมืองหลวงและเมืองท่าของพม่า (Myanmar) , กรุงย่างกุ้ง
(โร'เมิน) adj. (เกี่ยวกับ) กรุงโรมโบราณ, อาณาจักรโรมันโบราณ, ชาวโรม, ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก, เลขโรมัน n. ชาวโรม, ภาษาอิตาลีในกรุงโรมSee Also:roman n. อักษรโรมัน
(โรม) n. กรุงโรม (เมืองหลวงของอิตาลี)
(ซะฟิส'ทิเคทิด) adj. ช่ำชองโลก, มีลักษณะของชาวกรุง, ขาดความไร้เดียงสา, ขาดลักษณะธรรมชาติ, ซึ่งอ้างเหตุผลผิด ๆ , ตบตา, หลอกลวง, ทำให้หลงผิด, ซับซ้อน.Syn.sophisticate.
(ซะฟิสทิเค'เชิน) n. ลักษณะที่ช่ำชองโลก, ลักษณะชาวกรุง, การขาดความไร้-เดียงสา, การขาดลักษณะธรรมชาติ, การเปลี่ยนจากลักษณะธรรมชาติ, การอ้างเหตุผลผิด ๆ
(โทร'เจิน) adj., n. (เกี่ยวกับ) กรุงTroy, คนที่ขยันขันแข็ง, เข้มแข็งและเด็ดเดี่ยว, คนที่สนุกสนาน
n. (นิยายกรีกโบราณ) สงครามสิบปีระหว่างทหารกรีกกับทหารกรุงทรอยภายใต้การนำทัพของAgamemnon
(แวท'ทิเคิน) n. สำนักวาติกันอันเป็นที่ประดับขององค์สันตะปาปาในกรุงโรม, อำนาจและการปกครองขององค์สันตะปาปาSee Also:Vaticanism n.
n. กรุงวาติกันในกรุงโรมเป็นที่ประทับขององค์สันตะปาปารวมทั้งโบสถ์St. Peterและสำนักวาติกัน
(วะนี'เชิยน) adj. เกี่ยวกับกรุงเวนิสหรือชาวเวนิส. n. ชาวเวนิส
(เวน'นิส) n. กรุงเวนิส, เป็นเมืองท่าในภาคอีสานของอิตาลีสร้างอยู่บนเกาะเล็ก ๆ
(วีอะนีซ', -นีส) adj. เกี่ยวกับหรือมีลักษณะของกรุงเวียนนา. n. ชาวเวียนนา
n. ชื่อโบสถ์ในกรุงลอนดอนเป็นที่ฝังศพของกษัตริย์อังกฤษ
n. ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน , รัฐบาลสหรัฐอเมริกา
(วิม'เบิลเดิน) n. ชื่อเมืองในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษ อยู่ใกล้กรุงลอนดอนเป็นที่มีการแข่งขันเทนนิสโลกทุกปี
Nontri Dictionary
(n)เมือง, พระนคร, กรุง, นคร, เทศบาลเมือง
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(name)เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำของอิตาลี ตั้งอยู่ในกรุงโรมเมืองหลวงของประเทศอิตาลี
โรงเรียนอัสสัมชัญเป็นสถานศึกษาเอกชนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียล ตั้งอยู่ที่ 26 ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 สามารถติดต่อได้ที่ 0-2630-7111-25
[แบง ค๊อก](n)กรุงเทพ เมืองหลวงของประเทศไทย
[แบงคอก ทรานซิท อาธอริตี](n)องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ
(org)ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
(org)ธนาคารกรุงเทพ
(n)โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา)
(org)ธนาคารกรุงไทย
(n)โรงเรียนมัธยมแ่ห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี เปิดหลักสูตรสองภาษาและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีSee Also:Nairong SchoolSyn.มัธยมวัดนายโรง
(name)โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ตั้งอยู่บนถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
ธงชัยสมรภูมิ เป็นธงที่ถูกชักไว้บนเรือรบเพื่อแสดงสัญชาติของเรือรบ อาจมีการชักธงนี้ไว้บนบกในดินแดนที่กองทัพเจ้าของธงยึดครองอยู่ อาทิ เมื่อเยอรมนีเข้ายึดกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1940 มีการชักธงชัยสมรภูมิเยอรมันไว้บนยอดหอไอเฟลเพื่อสื่อว่า ประเทศฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกองทัพเยอรมัน
Longdo Approved JP-TH
[あてね, atene](n)กรุงเอเธนส์
[ばんこく, bankoku]บางกอก หรือ กรุงเทพมหานคร
[ちば, chiba](n, name)จังหวัดชิบะ อยู่ทางตะวันตกของกรุงโตเกียว, เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
バンコク
[ばんこく, bankoku, bankoku , bankoku](n)กรุงเทพมหานคร
Longdo Approved DE-TH
กรุงเบอร์ลิน เมืองหลวงของเยอรมนี
กรุงมอสโคว์ เมืองหลวงของรัสเซีย
(n)|etw. lag irgendwo/irgendwie, etw. hat irgendwo/irgendwie gelegen| สิ่งใดสิ่งหนึ่งตั้งวางอยู่(ในแนวนอน) เช่น Chiangmai liegt nördlich von Bangkok. เชียงใหม่ตั้งอยู่ทางเหนือของกรุงเทพฯ
(vt)|verursachte, hat verursacht| ก่อให้เกิด เป็นต้นตอ เช่น Der Verkehr in Bangkok hat die Luftverschmutzung verursacht. การจราจรในกรุงเทพทำให้อากาศเป็นพิษSee Also:führen zu, zur Folge haben, hervorrufen
(n)|der, nur Sg.| สถานการณ์ที่กำลังถูกสงสัยอยู่ เช่น Man weiß nicht wo sie ist, aber es besteht Verdacht auf Bangkok. ไม่มีใครรู้ว่าเธอหายไปไหน แต่มีเหตุการณ์ชี้ว่าเธอน่าจะอยู่ที่กรุงเทพฯ
(n)|das, nur Sg.| ใจกลาง, ศูนย์กลาง เช่น Bangkok liegt im Herzen Thailands. กรุงเทพตั้งอยู่ตรงใจกลางของประเทศไทย
(uniq)กรุงเวียนนา
(prep)|+D เสมอ| จาก (สถานที่) เช่น Wir fahren von Bangkok ab. เราขับรถออกจากกรุงเทพกัน
มีปัญหาเครื่องมอเตอร์ไม่ทำงานหรือผิดปกติ เช่น Ich habe eine Panne während der Fahrt nach Bangkok. ฉันมีปัญหาเครื่องยนต์(ของรถยนต์)ระหว่างการเดินทางไปกรุงเทพฯ
Longdo Approved FR-TH
(vi)|je suis, tu es, il est, nous sommes, vous êtes, ils sont| (1) เป็น, อยู่, คือ เช่น Vous êtes Monsieur Voltaire? คุณคือคุณโวลแตร์ใช่ไหมครับ/คะ, Je suis à Bangkok. ผมอยู่ที่กรุงเทพ (2) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต passé composé สำหรับกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Je suis venu(e) à sept heures ce matin. ผม(ดิฉัน)มาถึงตอนเจ็ดโมงเมื่อเช้านี้
(n)|f| ชื่อในภาษาฝรั่งเศสของภาพวาดเหมือนสตรีคนหนึ่ง ที่คนทั่วไปเรียกภาพนี้ว่า Mona Lisa ผลงานของ Leonardo Da Vinci จิตรกรชื่อก้องชาวอิตาลี ปัจจุบันภาพนี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์ Louvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ