(บลอบ) n. หยด, หยดสี, รอยเปื้อน, ก้อนกลุ่ม, กอง, ความผิดพลาด vt. หยด, ใส่ลงหยดหนึ่ง, ทำให้เปื้อน, Syn.globule
(บลัน'เดอะ) { blundered, blundering, blunders } n. ความผิดพลาด -v. ทำผิดพลาด, เดินเซ่อ, งุ่มง่าม, ซุ่มซ่าม, พูดออกมาอย่างโง่, แพร่งพรายออกมา, See Also:blunderer n. ดูblunder blunderful adj. ดูblunder blundering บลัน'เดอริง adj. ซึ่งทำผิดพลาดได้ง่
n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด
n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด
n. การกระโดดขึ้นลง, ความผิดพลาด vt. เสียลูก vi. กระโดดขึ้นลง, รับพลาด, เตะพลาด
บิตตรวจสอบบิตที่เพิ่มเข้าไปในข้อมูล ใช้เมื่อจะตรวจสอบเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
(คลิง'เคอะ) n. อิฐแข็งเย็น, ของชั้นหนึ่ง, คนที่ชนแก้วกัน, สิ่งที่กระทบดังกริ๊ง, ความผิดพลาด, Syn.mistake
ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
(-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See Also:computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ Manual ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น
รหัสระบุความผิดพลาดหมายถึง รหัสที่มีกำหนดไว้ เพื่อบ่งบอกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ว่าเป็นข้อผิดพลาดจากสาเหตุใด เช่น ศัพท์ที่ใช้ในชุดคำสั่งภาษานั้น ๆ ตัวแปลภาษาไม่รู้จัก (bad command) หรือไวยากรณ์ผิด (syntax error) เป็นต้น