การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อัตถดถอย (สถิติ)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
สถิติการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
สถิติเศรษฐศาสตร์[เศรษฐศาสตร์]
สถิติการจ้างงาน[เศรษฐศาสตร์]
สถิติพลังงาน[เศรษฐศาสตร์]
สถิติการขนส่ง[เศรษฐศาสตร์]
การเปรียบเทียบพหุ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
ข้อมูลผิดปกติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
คณิตศาสตร์สถิติ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
แจ็คไนฟ์ (สถิติ)[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การถดถอยอัตตะ (สถิติ)[TU Subject Heading]
บูตสแตรป (สถิติ)[TU Subject Heading]
สหสัมพันธ์แคนอนิคอล (สถิติ)[TU Subject Heading]
สถิติธุรกิจ[TU Subject Heading]
สหสัมพันธ์ (สถิติ)[TU Subject Heading]
สถิติทางการศึกษา[TU Subject Heading]
สถิติอุตสาหกรรม[TU Subject Heading]
สถิติศาล[TU Subject Heading]
แบบจำลองเชิงเส้น (สถิติ)[TU Subject Heading]
คณิตศาสตร์สถิติ[TU Subject Heading]
สถิติทางการแพทย์[TU Subject Heading]
ค่าสังเกตที่ขาดหายไป (สถิติ)[TU Subject Heading]
การเปรียบเทียบพหุ (สถิติ)[TU Subject Heading]
สถิตินอนพาราเมตริก[TU Subject Heading]
ค่าผิดปกติ (สถิติ)[TU Subject Heading]
การวิเคราะห์เส้นโยง[TU Subject Heading]
การจัดลำดับและการคัดเลือก (สถิติ)[TU Subject Heading]
พื้นผิวตอบสนอง (สถิติ)[TU Subject Heading]
การถดถอยแบบริดจ์ (สถิติ)[TU Subject Heading]
การสุ่มตัวอย่าง (สถิติ)[TU Subject Heading]
สถิติ[TU Subject Heading]
ที-เทสต์ (สถิติ)[TU Subject Heading]
สถิติประชากร, Example:สถิติที่เกี่ยวกับจำนวนประชากร การกระจายตัวของประชากรตามเขตภูมิศาสตร์ โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงของประชากร สถิติประชากร จะใช้มากในการศึกษาประชากรศาสตร์พรรณนา (descriptive demography) [สิ่งแวดล้อม]
สถิติ, วิชาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้ คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการตีความหมายข้อมูล[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สถิติเชิงพรรณนา, การวิเคราะห์ขั้นต้นที่มุ่งวิเคราะห์เพื่ออธิบายลักษณะกว้าง ๆ ของข้อมูลชุดนั้น โดยวิธีการสรุปข้อมูลแต่ละชุดที่สนใจ จากการวัดค่าสถิติ และนำเสนอผลสรุป[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สถิติเชิงอนุมาน, การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากตัวอย่างเพื่ออ้างอิงไปถึงข้อมูลทั้งหมด เป็นศาสตร์ที่ให้วิธีการเลือกตัวแทนที่ดีของประชากร[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
สถิติสาธารณสุข, [การแพทย์]
สถิติทางการแพทย์[การแพทย์]
สถิติห้องสมุด, Example:สถิติห้องสมุด (Library statistics) หมายถึง ข้อมูลที่เป็นตัวเลขต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมได้ในห้องสมุด นำมาจำแนกและทำเป็นตารางเพื่อนำเสนอข้อเท็จจริงและข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการดำเนินงานของห้องสมุด เช่น จำนวนทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด จำนวนผู้เข้าใช้บริการในห้องสมุด จำนวนการยืมคืนในแต่ละวัน เป็นต้น โดยนำเสนอในรูปแบบของการเขียนรายงาน เกี่ยวกับการดำเนินงานต่าง ๆ ของห้องสมุด เพื่อแสดงให้เห็นความต้องการของผู้ใช้บริการในห้องสมุดและแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานของห้องสมุดว่ามีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใดรวมทั้งปัญหาในการดำเนินงานของห้องสมุดเพื่อเสนอให้ผู้บริหารได้ทราบ เพื่อใช้ในการพัฒนาปรับปรุงห้องสมุดต่อไป[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]