97 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*reposit*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: reposit, -reposit-
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(vt)เก็บไว้See Also:วาง
(n)ผู้มีความรู้กว้างขวาง
(n)ผู้ได้รับความไว้วางใจ
Hope Dictionary
(รีทอส'ซิทอรี) n. ที่รับ, ที่รองรับ, ที่ใส่, ที่เก็บ, สุสาน, ผู้เป็นที่ไว้วางใจ, คลังสินค้า, โกดังSyn.burial place, sepulcher
Nontri Dictionary
(n)คำบุพบท
(n)โกดัง, คลัง
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การจัดคืนที่[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
เครื่องจัดคืนที่[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การผ่าตัดร่นแผ่นเหงือก[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกขึ้น[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดร่นแผ่นเหงือก[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกขึ้น[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
การผ่าตัดเลื่อนแผ่นเหงือกไปด้านข้าง[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
คลังเก็บ สถานที่เก็บ (ข้อมูลดิจิทัล ฐานข้อมูล) แหล่งที่อยู่ (เว็บไซต์)[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันExample:Institutional Repository หรือ คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน นั้น หมายถึง คลังเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล อันเป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงาน องค์กร ซึ่งมีการจัดเก็บเป็นศูนย์รวม มีการสงวนรักษา และมีการจัดทำดัชนีที่ได้มาตรฐาน สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นได้ [ 1 ] หรือกล่าวได้ว่า คลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันเป็นบริการหรือหน้าที่ของมหาวิทยาลัย/องค์กร ในการจัดการและเผยแพร่งานในรูปแบบดิจิทัลอันเป็นผลงานหรือผลผลิตของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต นักศึกษา หรือสมาชิกในประชาคมนั้นๆ และผู้ใช้ทั้งภายในและภายนอกสามารถเข้าถึงได้ [ 2, 3 ] ซึ่งผลงานเหล่านั้น นอกจากจะเป็นรายงานที่กำลังดำเนินงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ แล้ว ยังหมายรวมถึงงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ (grey literature) ซึ่งมีเป็นจำนวนมากในวัฒนธรรมของการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บรรณารักษ์ที่จะรวบรวม จัดเก็บ และสงวนรักษาไว้อย่างเป็นระบบ [ 4 ] <p> คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p>จอห์นสัน [ 3 ] กล่าวว่า การจัดทำคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะดังนี้ <p> 1. เนื้อหาที่เป็นดิจิทัล (Digital content) ในระบบของคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้นเก็บผลงานที่เป็นดิจิทัลเท่านั้น <p> 2. การเน้นงานที่สร้างโดยสมาชิกของสถาบัน (Institutionally-defined) การจัดทำคลังเก็บระดับสถาบันเน้นการจัดเก็บผลงานของสมาชิกในประชาคมนั้นๆ เท่านั้น <p> 3. เนื้อหาทางวิชาการ (Scholarly content) เนื้อหา ที่นำมาจัดเก็บในคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันนั้น เน้นเนื้อหาทางวิชาการ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบันในการรวบรวม การสงวนรักษา และการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหล่านี้อาจหมายรวมถึง ผลงานก่อนตีพิมพ์ และผลงานที่อยู่ในระหว่างการดำเนินงาน บทความที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา หนังสือ สื่อการสอน ชุดข้อมูล บทความเสนอการประชุม วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และวรรณกรรมไม่ตีพิมพ์ เป็นต้น การควบคุมและการจัดการการเข้าถึงเนื้อหาทางวิชาการเหล่านี้ จำเป็นต้องอาศัยนโยบายและกลไกที่เหมาะสม รวมทั้งการบริหารจัดการด้านเนื้อหาและระบบการควบคุมเอกสาร (document version control systems) กรอบนโยบายและโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิคของคลังเก็บต้องเอื้ออำนวยให้ผู้ จัดการคลังเก็บมีความยืดหยุ่นต่อการควบคุมระบบ ใครเป็นผู้ที่สามารถรับรอง (approve) เข้าถึง (access) แก้ไข (update) ผลงานดิจิทัลเหล่านั้นที่มาจากต่างแหล่งกันในชุมชนนั้นๆ <p> 4. การสะสมเพิ่มพูน และความยั่งยืน (Cumulative and perpetual) ในส่วนของการเป็นคลังเก็บจะต้องมีการสะสมผลงาน ผลงานเมื่อมีการนำเข้าคลังเก็บแล้ว ไม่ควรมีการถอดถอนออกจากคลัง ยกเว้นแต่มีเหตุจำเป็น เช่น งานนั้นมีการละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นต้น การเป็นคลังเก็บจึงต้องพัฒนาเกณฑ์และนโยบาย รวมทั้งนำระบบการจัดการสิทธิ์ (right management) มาประยุกต์ใช้ ในการอนุญาตให้เข้าถึงเนื้อหาในคลังเก็บทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภาย นอก รวมทั้งต้องมีระบบการสงวนรักษาผลงาน และสามารถให้เข้าถึงได้ในระยะยาวได้ <p> 5. การทำงานร่วมกันได้และการเข้าถึงแบบเปิด/แบบเสรี (Interoperable and open access) คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของการเป็นคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน คือ การสามารถให้มีการเข้าถึงได้แบบเปิด / แบบเสรี หรือมีปัญหาในการเข้าถึงให้น้อยที่สุด (เช่น การต้องลงทะเบียนในการเข้าใช้) ในส่วนของการเป็นระบบที่สามารถทำงานร่วมกันได้นั้น เป็นเรื่องทางเทคนิคที่มีการนำการเก็บถาวรแบบเปิด หรือ Open Archives Initiative (OAI) มาใช้เพื่อเป็นแนวทางการกำหนดมาตรฐานสำหรับการเก็บรักษาในเชิงบันทึกถาวร และสามารถเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนเมทาดาทาทำให้สามารถสืบค้น และเรียกใช้ข้อมูลข้ามระบบกันได้ <p>ประโยชน์ของการมีคลังเก็บสารสนเทศระดับสถาบัน <p> 1. ทำให้เกิดระบบการรวบรวม สงวนรักษา และเผยแพร่เนื้อหาทางวิชาการ <p> 2. เป็นเสมือนตัวชี้วัดของคุณภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย โดยมุ่งที่รวมเอางานทางปัญญาของมหาวิทยาลัย หน่วยงานวิจัย มาไว้ในที่เดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้ทั่วโลก <p> 3. เป็นการสงวนรักษาทรัพย์สินทางปัญญาในรูปดิจิทัล <p> 4. เป็นเสมือนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ใหม่ในการพิมพ์ผลงานทางวิชาการ <p> 5. เป็นการสื่อสารทางวิชาการ (scholarly communication) <p> 6. เป็นการจัดการความรู้ <p> 7. เป็นการสนับสนุนเรื่องการเข้าถึงโดยเสรี <p>รายการอ้างอิง: <p>[ 1 ] “What is an Institutional Repository”. [ On-line ]. Available: http://library.ucalgary.ca/libraryinformation/dspace/whatisaninstitutionalrepository.php. Visited: 12/08/2007 10.30. <p>[ 2 ] Lynch, Clifford A. “Institutional repository : essential infrastructure for scholarship in the digital age.” ARL 226 (February 2003): 1-7 [ On-line ]. Available: http://www.arl.org/resources/pubs/br/br226/br226ir.shtml. Visited: 12/08/2007 10.34. <p>[ 3 ] Johnson, Richard K. “Institutional repositories : partnering with faculty to enhance scholarly communication.” D-Lib Magazine V.8 No.11 (November 2002) [ On-line ]. Available: http://www.dlib.org/dlib/november02/johnson/11johnson.html. Visited: 12/08/10.52. <p>[ 4 ]Tennant, Roy. “Institutional Repositories”. Library Journal 9, 15 (2002). [ On-line ]. Available: http://www.libraryjournal.com/index.asp?layout=article&articleid=CA242297&publication=libraryjournal. Visited: 13/08/2007. 10.51.[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บุพบท[TU Subject Heading]
คลังสารสนเทศ[การจัดการความรู้]
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)prepositionExample:ในการสังเคราะห์ภาษาไทยนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างคำบุพบทหรือคำคุณศัพท์ต่างๆUnit:คำThai Definition:คำบุพบทคือคำซึ่งมีหน้าที่เชื่อมระหว่างคำนามกับคำนาม
(n)prepositionSyn.บุพบท, คำเชื่อมExample:นักศึกษามักใช้บุรพบทไม่ค่อยถูกต้องตามหลักภาษาไทยThai Definition:คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้านาม สรรพนาม หรือกริยา
(n)prepositional phraseExample:คำวิเศษณ์บางทีก็มีลักษณะเป็นบุพบทวลีได้เหมือนกันThai Definition:คำบุพบทที่เรียงต่อกันซึ่งมีความหมาย
(n)prepositionSyn.คำเชื่อม, บุรพบทExample:คำว่า “ลวนลาม” จะตามด้วยคำนามที่เป็นกรรมได้โดยไม่ต้องมีบุพบทมานำหน้าThai Definition:คำชนิดหนึ่งในไวยากรณ์ ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ อยู่หน้าคำนาม สรรพนาม หรือกริยา
(n)underground hiding placeSee Also:chamber, repository, hiding placeSyn.ห้องใต้ดิน, ห้องใต้พระเจดีย์Example:พระเครื่องรุ่นนี้ได้มาจากกรุวัดพระศรีสัชนาลัยThai Definition:ห้องที่ทำไว้ใต้ดินและใต้พระเจดีย์
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[bupphabot] (n) EN: preposition  FR: préposition [ f ]
[bupphabot walī] (n, exp) EN: prepositional phrase
[høtrai] (n) EN: hall for keeping the scriptures ; temple repository for the Buddhist scriptures ; tripitaka hall
[khlang] (n) EN: storehouse ; warehouse ; repository  FR: dépôt [ m ] ; entrepôt [ m ]
WordNet (3.0)
(n)a function word that combines with a noun or pronoun or noun phrase to form a prepositional phrase that can have an adverbial or adjectival relation to some other word
(n)(linguistics) the placing of one linguistic element before another (as placing a modifier before the word it modifies in a sentence or placing an affix before the base to which it is attached)
(adj)of or relating to or formed with a preposition
(adv)as a preposition
(n)the object governed by a prepositionSyn.object of a preposition
(n)a phrase beginning with a preposition
(v)put (something) in a place for storage
(n)depositing in a warehouseSyn.reposition, warehousing, storage
(v)place into another position
(n)the act of placing in a new position
(n)a person to whom a secret is entrustedSyn.secretary
(n)a burial vault (usually for some famous person)Syn.monument
(n)a facility where things can be deposited for storage or safekeepingSyn.repository, deposit, depositary
(v)change place or directionSyn.dislodge, reposition
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

n. [ L. praepositio, fr. praeponere to place before; prae before + ponere to put, place: cf. F. préposition. See Position, and cf. Provost. ] [ 1913 Webster ]

1. (Gram.) A word employed to connect a noun or a pronoun, in an adjectival or adverbial sense, with some other word; a particle used with a noun or pronoun (in English always in the objective case) to make a phrase limiting some other word; -- so called because usually placed before the word with which it is phrased; as, a bridge of iron; he comes from town; it is good for food; he escaped by running. [ 1913 Webster ]

2. A proposition; an exposition; a discourse. [ Obs. ] [ 1913 Webster ]

He made a long preposition and oration. Fabyan. [ 1913 Webster ]

a. [ Cf. F. prépositionnel. ] Of or pertaining to a preposition; of the nature of a preposition. Early. -- Prep`o*si"tion*al*ly, adv. [1913 Webster]

a. [ L. praepositivus: cf. F. prépositif. ] (Gram.) Put before; prefixed; as, a prepositive particle. -- n. A prepositive word. Tooke. [ 1913 Webster ]

‖n. [ NL. ] A scholar appointed to inspect other scholars; a monitor. Todd. [ 1913 Webster ]

n. [ L. praepositura. See Preposition, and cf. Provost. ] The office or dignity of a provost; a provostship. Lowth. [ 1913 Webster ]

v. t. [ imp. & p. p. Reposited; p. pr. & vb. n. Repositing. ] [ L. repositus, p. p. of reponere to put back; pref. re- re- + ponere to put. See Position. ] To cause to rest or stay; to lay away; to lodge, as for safety or preservation; to place; to store. [ 1913 Webster ]

Others reposit their young in holes. Derham. [ 1913 Webster ]

n. [ L. repositio. ] The act of repositing; a laying up. [ 1913 Webster ]

n. (Surg.) An instrument employed for replacing a displaced organ or part. [ 1913 Webster ]

n. [ L. repositorium, repostorium: cf. OF. repositoire. ] A place where things are or may be reposited, or laid up, for safety or preservation; a depository. Locke. [ 1913 Webster ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[, , ㄈㄨˇ]seat of government; government repository (archive); official residence; mansion; presidential palace; (honorific) Your home; prefecture (from Tang to Qing times)#3434[Add to Longdo]
[  /  , jiè cí, ㄐㄧㄝˋ ㄘˊ]preposition#45003[Add to Longdo]
[    /    , zhuǎn yí zhèn dì, ㄓㄨㄢˇ ㄧˊ ㄓㄣˋ ㄉㄧˋ]to move one's base (of operations); to reposition; to relocate#82534[Add to Longdo]
[   /   , Zhēng cāng yuàn, ㄓㄥ ㄘㄤ ㄩㄢˋ]Shōsō-in, treasure house belonging to Tōdai-ji 東大寺, Nara 奈良, Japan, an extensive repository of imperial treasures from Tang times; described as the east-most end of the Silk road#182629[Add to Longdo]
[   /   , jiè xì cí, ㄐㄧㄝˋ ㄒㄧˋ ㄘˊ]preposition[Add to Longdo]
DING DE-EN Dictionary
Aufbewahrungsort { m } | Aufbewahrungsorte { pl }
repository | repositories[Add to Longdo]
Behälter { m } | Behälter { pl }
repository | repositories[Add to Longdo]
Fall { m }; Kasus { m } [ gramm. ] | Nominativ { m }; erster Fall | Genitiv { m }; zweiter Fall | Dativ { m }; dritter Fall | Akkusativ { m }; vierter Fall | Instrumental { n }; fünfter Fall | Ablativ { m }; fünfter Fall | Präpositiv { m }; sechster Fall | Vokativ { m } (Anredefall); sechster Fall
case | nominative case | genitive case | dative case | accusative case | instrumental case | ablative case | prepositional case | vocative case[Add to Longdo]
Präposition { f }; Verhältniswort { n } [ gramm. ] | Präpositionen { pl }; Verhältniswörter { pl }
preposition | prepositions[Add to Longdo]
Repository { n } [ comp. ]
repository[Add to Longdo]
Umpositionierung { f }
repositioning[Add to Longdo]
neu positionieren
to reposition[Add to Longdo]
präpositional
prepositional[Add to Longdo]
präpositional { adv }
prepositionally[Add to Longdo]
stellte um
repositioned[Add to Longdo]
zurückgesetzt
repositioned[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[baiobanku](n) DNA repository (wasei[Add to Longdo]
[ripojitori](n) repository[Add to Longdo]
[repojitori](n) { comp } repository (esp. in version control systems like CVS, SVN, etc.)[Add to Longdo]
[ぐんぜんちし, gunzenchishi](n) { ling } group preposition[Add to Longdo]
[せいふく, seifuku](n, vs) reposition[Add to Longdo]
[せっちし, secchishi](n) adposition; prepositions and pospositions[Add to Longdo]
[ぜんちし, zenchishi](n) { ling } preposition[Add to Longdo]
[ぬきとりけんさ, nukitorikensa](n) sequential sampling inspection (with reposition)[Add to Longdo]
[ふくごうぜんちし, fukugouzenchishi](n) (obsc) (See 群前置詞) complex preposition[Add to Longdo]
[ほうでん, houden](n) (shrine) repository or treasure house; (shrine) sanctuary[Add to Longdo]
[ほうもつでん, houmotsuden](n) (shrine) repository or treasure house; (shrine) sanctuary[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ