ว. มีอายุมากแต่ไม่มีประโยชน์.
ว. มีอายุมากแต่ไม่มีแก่นสาร.
ว. แก่, มีอายุมาก, เถ้า ก็ใช้.
น. สตรีสูงอายุที่พระเจ้าแผ่นดินโปรดให้ตั้งไว้ในตำแหน่งข้าราชการ มีหน้าที่ดูแลสตรีฝ่ายในในพระราชสำนัก
ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เถ้าแก่ ก็ใช้.
น. ชายสูงอายุที่มีเล่ห์เหลี่ยมหรือกลอุบายหลอกหญิงสาวเพื่อกามารมณ์.
น. ชายสูงอายุที่มีท่าทีสงบเสงี่ยมน่านับถือ แต่เจ้ามารยามีเล่ห์เหลี่ยมมาก.
น. ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอขวัญ ก็เรียก.
(กฺรวด) ว. สูงชัน เช่น หลังคากรวด, คู่กับ หลังคาดาด, ในคำประพันธ์ใช้ว่า จรวด หรือ ตรวด ก็มี เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้ (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ก. กระเจิดกระเจิง, กระเซอะกระเซิง, เช่น เฒ่าก็เที่ยวสัญจรกระเจอะกระเจิง (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ว. มรรยาทหยาบ, สัปดน, เช่น อ้ายเฒ่าแก่กากกลีกระดางลาง ยังมันนี้ใครเขามีบ้างที่เมืองคน (ม. ร่ายยาว ชูชก).
(-คดชะวาง) น. ข้าวสำหรับบำบวงเชือกบาศ เป็นพิธีของพระหมอเฒ่าในการรับช้างเผือก.
ว. มีอายุและมีคุณค่า, ใช้เข้าคู่กับ เฒ่าหัวเผือกหัวมัน เป็น แก่มะพร้าวห้าว เฒ่าหัวเผือกหัวมัน.
(ขฺรัว) น. คำเรียกภิกษุที่มีอายุมาก หรือที่บวชเมื่อแก่ หรือฆราวาสผู้เฒ่า.
น. โค เช่น ดั่งว่าพฤติโคเคาเฒ่าชราจร (ม. ร่ายยาว ชูชก), มีหนวดเพียงหลังเคา (ม. คำหลวง กุมาร).
ว. บ้า เช่น เฒ่าจังกวดกามกวน (ม. คำหลวง ชูชก).
น. ผู้เฒ่าที่คนเคารพนับถือ, ปู่เจ้า ก็ว่า.
น. ช้างที่หมอเฒ่าขี่ในการจับช้าง.
(ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๘ เรียกว่า ฒอ ผู้เฒ่า เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น วัฒน์ วุฒิ.
(ตฺรวด) ว. กรวด, สูงชัน, เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้ (ม. ร่ายยาว ชูชก), ใช้ว่า จรวด ก็มี.
ว. แก่, มีอายุมาก, โดยมากใช้ เฒ่า.
น. ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เฒ่าแก่ ก็ใช้
(ทะลิด) ว. ยากจน, เข็ญใจ, เช่น พราหมณพฤฒาเฒ่าทลิทยากยิ่งยาจก (ม. ร่ายยาว ชูชก).
(ทะลิดทก) น. คนยากจน, คนเข็ญใจ, เช่น ส่วนออเฒ่าพฤฒาทลิททก (ม. ร่ายยาว ชูชก).
เลี่ยงไป เช่น เฒ่าก็ประดิษฐ์ประดับกายเป็นปะขาวดาบสเบือนบ่ายจำแลงเพศ (ม. ร่ายยาว ชูชก).
น. ผู้เฒ่าที่คนเคารพนับถือ, เจ้าปู่ ก็ว่า
น. อาจารย์ผู้เฒ่า, พราหมณ์ผู้เฒ่า.
แก่, เฒ่า, (ตรงข้ามกับ ยุว)
ก. ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ (พระไชยสุริยา).
ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอเฒ่า ก็เรียก.
ก. หฤโหด, ชั่วร้าย, เลวทราม, เช่น แม้อันว่าเฒ่าหือรือโหดหีนชาติทาสเมถุน (ม. ร่ายยาว ชูชก).