ก. ช่วยเหลือสนับสนุน เช่น ต้นไม้เล็กกับต้นไม้ใหญ่เกื้อกูลกัน บริษัทใหญ่เกื้อกูลบริษัทเล็กในเครือเดียวกัน.
ความเกื้อกูล เช่น รู้คุณ. (ป., ส.)
น. ผู้ที่เคยร่วมสร้างบุญบารมีกันมาก่อนและมาสนับสนุนเกื้อกูลกันในปัจจุบัน, สิ่งประดับบารมี.
น. ผู้ที่เคยร่วมสร้างบุญกุศลกันมาในชาติก่อนและมาสนับสนุนเกื้อกูลกันในปัจจุบัน เช่น พระนางมัทรีเป็นคู่บุญบารมีของพระเวสสันดร.
ความดี เช่น ปล่อยนกปล่อยปลาเอาบุญ, คุณงามความดี เช่น เขาทำบุญช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยาก, ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น เช่น คนใจบุญ, ผลของการทำความดีจากชาติปางก่อน เช่น เขามีบุญจึงเกิดมาบนกองเงินกองทอง.
(ปะระหิตะ, ปอระหิตะ) น. ประโยชน์ผู้อื่น, มักใช้ควบกับ ประโยชน์ เป็น ปรหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น.
(พฺรมมันยะ-) น. ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่พราหมณ์.
น. ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเกื้อกูลแก่ความตรัสรู้มี ๓๗ ประการ.
ก. เกื้อกูล เช่น ช่วยเหนือเฟื่อกู้มัน (จารึกสยาม).
น. สิ่งของทั้งปวงที่มิใช่ยุทธภัณฑ์ แต่เป็นสิ่งเกื้อกูลต่อการรบ เช่น อาหาร ยา เคมีภัณฑ์ รวมถึงสัตว์พาหนะด้วย.
ก. ให้การอุดหนุน, เกื้อกูล, เช่น ส่งเสียลูกเรียนหนังสือ.
ความเกื้อกูล, ความเอื้อเฟื้อ
(หิด, หิตะ-) น. ความเกื้อกูล, ประโยชน์.
(หิตะปฺระโหฺยด) น. ประโยชน์เกื้อกูล.
(หิตะพด, หิตะวะจะนะ) น. คำที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล.
(หิตานุหิตะปฺระโหฺยด) น. ประโยชน์เกื้อกูลน้อยใหญ่.
(-หิตะ-) น. ประโยชน์ตน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ประโยชน์ เป็น อัตหิตประโยชน์ ว่า ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน.
(อุปะการะ-, อุบปะการะ-) น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ.
(อุปะการะ-, อุบปะการะ-) ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน.
ก. แสดงนํ้าใจดีต่อผู้อื่น เช่น เขามีเพื่อนบ้านดี มีอะไรก็เอื้อเฟื้อกันเสมอ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เอื้อเฟื้อเกื้อกูล เอื้อเฟื้อเกื้อหนุน.