301 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*อุตสาหกร*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: อุตสาหกร, -อุตสาหกร-
Longdo Unapproved NO - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
industri
[อิน-ดุส-ทริ](n)อุตสาหกรรม
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
นิคมอุตสาหกรรม
(n)Industrial Estate
สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
(n, name, org, uniq)Provincial Industry Office
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)industryExample:ชนบทไทยมีทรัพยากรมากมายที่สามารถนำมาเป็นฐานของอุตสาหกรรมทุกประเภทได้ โดยเฉพาะอาหารกับยาThai Definition:กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงาน เพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ
(n)industrial workExample:เครื่องมือที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ควรมีขนาดใหญ่ ทนทาน ไม่แตกง่ายUnit:งาน
(adj)industrialExample:ในการพัฒนาทางอุตสาหกรรมเราควรคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติด้วย
(n)industrial sectorAnt.ภาคเกษตรกรรม, ภาคเกษตรExample:ปัจจุบันประเทศไทยมีแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมอย่างละ 17 ล้านคน
(n)light industryAnt.อุตสาหกรรมหนักExample:ญี่ปุ่นประกาศจะระบายอุตสาหกรรมหนักออกจากประเทศ โดยให้เหลือเพียงอุตสาหกรรมเบาเท่านั้น
(n)industrial areaExample:ในแถบมีนบุรี-ลาดกระบังจัดเป็นเขตอุสาหกรรมที่สำคัญของทางตะวันออกUnit:เขตThai Definition:พืนที่ที่มีกิจกรรมซึ่งใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ
(n)industrialExample:รัฐบาลกำลังเร่งพัฒนาประเทศโดยเน้นความเจริญด้านอุตสาหกรรม
(n)heavy industryAnt.อุตสาหกรรมเบาExample:ในอนาคตประเทศที่พัฒนาแล้วจะเลิกทำอุตสาหกรรมหนัก แล้วหันมาทำอุตสาหกรรมเบาแทน
(n)industrial artsThai Definition:วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญในการประดิษฐ ์และเกิดความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือและเครื่องกล
(n)agro-industryExample:ในปีนี้อุตสาหกรรมการเกษตรต้องปรับตัวครั้งใหญ่ เพราะประสบปัญหาต่อเนื่องกันหลายประการ
(n)industrial pharmacyThai Definition:วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม
(n)industrial countryExample:เมืองนี้เป็นเมืองท่าและเป็นเมืองอุตสาหกรรม
(n)industrial countrySee Also:advanced or modern countryAnt.ประเทศเกษตรกรรมExample:สถาบันการเงินของอเมริกาชะลอการปล่อยเงินกู้ให้กับประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่ของเอเชียThai Definition:ประเทศที่ทำอุตสาหกรรมเป็นหลัก
(n)industrial factoryUnit:โรง
(n)Ministry of IndustryExample:การดูแลบำบัดน้ำเสียของโรงงานเป็นงานของกระทรวงอุตสาหกรรมUnit:กระทรวง
(n)industrial standardExample:ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องให้ความสนใจกับมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล
(n)industrial standardExample:ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องให้ความสนใจกับมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล
(n)manufacture industryExample:ประเทศเกษตรกรรมมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากการเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรมการผลิต
(n)tourist industryExample:การสร้างสนามบินที่ภาคตะวันออกจะช่วยสนับสนุนให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเติบโตขึ้น
(n)Department of Industrial PromotionSyn.กสอ.Unit:กรม
(n)Industry MinisterExample:เมื่อปี พ.ศ. 2527 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศเชิญชวนให้เอกชนยื่นคำขอสิทธิสำรวจ และทำเหมืองแร่ทองคำUnit:คน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกัน.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การบริการ และกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกัน.
(เพสัดอุดสาหะกำ) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม.
(อุดสาหะกำ) น. กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรม การมาตรฐานเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และทรัพยากรธรณี.
(อุดสาหะกำสิน) น. วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญในการประดิษฐ์และเกิดความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือและเครื่องกล.
น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อการรักษาเสถียรภาพของอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายที่ใช้บริโภคในประเทศ.
ธาตุลำดับที่ ๑๖ สัญลักษณ์ S เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีอัญรูปหลายแบบ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำกรดซัลฟิวริก อุตสาหกรรมยาง ทำหัวไม้ขีดไฟ ดินปืน ดอกไม้เพลิง และยารักษาโรค, ยาประเภทซัลฟาและประเภทเพนิซิลลินก็มีธาตุกำมะถันเป็นองค์ประกอบด้วย.
น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ มีมากในนํ้าทะเล ใช้ปรุงอาหาร ทำเครื่องดองเค็ม, เมื่ออยู่ในสภาพบริสุทธิ์ที่สุด ใช้ละลายในนํ้ากลั่น เรียกว่า นํ้าเกลือ สำหรับให้ผู้ป่วยโดยให้ทางเส้นเลือด ใช้ในอุตสาหกรรมทำสบู่ อุตสาหกรรมผลิตโซดาแผดเผา.
น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO3) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ อุตสาหกรรมชุบโลหะให้เป็นเงิน.
น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hordeum vulgareL. ในวงศ์ Gramineae เป็นพรรณไม้ต่างประเทศ ปลูกกันบ้างในภาคเหนือ เมล็ดใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเบียร์ และเป็นอาหารสัตว์.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยของที่นำเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร และค่าธรรมเนียมเป็นพิเศษ.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ โดยของที่นำเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางอากรเป็นพิเศษ.
(คฺรั่ง) น. ชื่อเพลี้ยหอยชนิด Kerria lacca (Kerr) ในวงศ์ Kerriidae เพศเมียไม่มีปีก ขณะเป็นตัวอ่อนระยะแรกมีขาและหนวด เคลื่อนไหวได้ เมื่อลอกคราบเวลาต่อมาจะไม่มีขา เกาะอยู่กับที่ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากต้นไม้ เช่น จามจุรี และผลิตสารซึ่งเรียกว่า ขี้ครั่ง นำไปใช้ทำประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายอย่าง เช่น เชลแล็ก สีย้อมผ้า.
(คฺลอ-) น. ธาตุลำดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสำลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสำคัญ.
น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทำนํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทำความเย็น.
(-มอน็อก-) น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม.
น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก.
น. ธาตุลำดับที่ ๒๗ สัญลักษณ์ Co เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๙๕ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือเพื่อให้มีสมบัติพิเศษบางประการ เช่น ผสมกับเหล็กทำให้มีความแข็งแกร่งยิ่งขึ้น และเมื่อนำไปทำเป็นแม่เหล็กก็จะได้แม่เหล็กที่มีกำลังมากเป็นพิเศษ ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้วและเครื่องดินเผาใช้สารประกอบของโคบอลต์เป็นตัวให้สีนํ้าเงิน.
น. ธาตุลำดับที่ ๒๔ สัญลักษณ์ Cr เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๘๗๕ °ซ. ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม อุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าที่มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อใช้ทำเครื่องมือช่าง และในอุตสาหกรรมชุบโลหะด้วยโครเมียม.
น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒ ºซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓ ºซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม.
น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น.
น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ชื่อโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นของแข็งสีขาว ดูดความชื้นดีมาก ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสบู่ ไหมเรยอง, โซดาไฟ หรือ คอสติกโซดา ก็เรียก.
น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2CO3 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2CO3·10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำแก้ว สบู่ กระดาษ ทำลายความกระด้างของนํ้า.
น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2SO4 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2SO4·10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาถ่าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสบู่ ผงซักฟอก สีย้อม แก้ว กระดาษ.
ธาตุลำดับที่ ๘๒ สัญลักษณ์ Pb เป็นโลหะสีขาวแกมนํ้าเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๗.๔ °ซ. ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ สารประกอบของตะกั่วใช้ในอุตสาหกรรมสีทา ตะกั่วและสารประกอบของตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกาย.
น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียดสีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีทา และทำแก้ว, เสน ก็เรียก.
น. กากที่เหลือหลังจากนำถ่านหินไปอบในห้องที่ไม่มีอากาศ จนกระทั่งถ่านหินเดิมสลายไป เป็นสารที่ประกอบด้วยคาร์บอนประมาณร้อยละ ๘๐-๙๐ ใช้ประโยชน์ในการถลุงแร่ เช่น ในอุตสาหกรรมถลุงเหล็กเป็นต้น.
น. แร่ควอตซ์ที่มีขนาดเล็กเท่าเม็ดทราย มีลักษณะเป็นสีขาวใส ใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้ว.
น. วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ อุตสาหกรรม เป็นต้น.
น. ธาตุลำดับที่ ๕๒ สัญลักษณ์ Te ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาวคล้ายเงิน มีสมบัติทางเคมีคล้ายธาตุกำมะถัน หลอมละลายที่ ๔๔๙.๕ °ซ. มีหลายอัญรูป ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ และใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้วสี.
น. หมู่บ้านขนาดใหญ่, ถิ่นฐานหรือชุมชนที่เกิดขึ้นจากการตั้งหลักแหล่ง, หมู่บ้านใหญ่หรือตำบลที่ประชาชนเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่เพื่อประกอบอาชีพเป็นหลักฐาน เช่น นิคมสร้างตนเอง นิคมอุตสาหกรรม.
น. ธาตุลำดับที่ ๕๖ สัญลักษณ์ Ba เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน เนื้ออ่อน เมื่อถูกอากาศสีจะหมองลงอย่างรวดเร็ว หลอมละลายที่ ๗๑๔ °ซ. สารประกอบของแบเรียมใช้ในอุตสาหกรรมทำสี ทำแก้ว และทำดอกไม้ไฟ.
น. ธาตุลำดับที่ ๕ สัญลักษณ์ B เป็นโลหะ ลักษณะเป็นผงละเอียดสีนํ้าตาล หรือเป็นผลึกสีเหลือง หลอมละลายที่ ๒๓๐๐ °ซ. ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้า แก้ว.
การเปลี่ยนแปลงระบบ เช่น ปฏิวัติอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง เช่น ปฏิวัติการปกครอง.
(เพ็ด, เพ็ดชะ-, เพ็ด-) น. ชื่อแก้วที่แข็งที่สุดและมีนํ้าแวววาวมากกว่าพลอยอื่น ๆ ใช้ทำเครื่องประดับหรือใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม
น. ภาษีที่เรียกเก็บจากเจ้าของที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นปีละครั้งตามค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น เว้นแต่เจ้าของอยู่เองหรือให้ผู้แทนเฝ้ารักษาโดยมิได้ใช้เป็นที่เก็บสินค้าหรือประกอบการอุตสาหกรรม.
(มาดตฺระ-) น. สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ที่รับรองกันทั่วไป เช่น เวลามาตรฐานกรีนิช, สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์สำหรับเทียบกำหนด ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม หนังสือนี้ยังไม่เข้ามาตรฐาน.
น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นแก๊ส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไวไฟ มีสูตร CH4 มีปรากฏในที่ซึ่งมีสารอินทรีย์ผุพังเน่าเปื่อย ในบ่อถ่านหิน ในแก๊สธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง และใช้ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์โปรตีนเป็นต้น.
น. ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม วัน หมายความว่า เวลาทำการตามที่ได้กำหนดขึ้นโดยกฎหมาย คำสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทำการตามปรกติของกิจการนั้น แล้วแต่กรณี.
(วินาดสะกำ) น. การลอบทำลายหรือเผาผลาญทรัพย์สินโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น ของนายจ้างหรือของศัตรู เช่น ในกรณีที่เกิดพิพาทกันขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือเพื่อตัดกำลังฝ่ายศัตรูเมื่อทำสงครามกันโดยตรงหรือโดยปริยาย.
น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู.
น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีทาและทำแก้ว, ตะกั่วแดง ก็เรียก. (อ. red lead, minium). (ดู ตะกั่วแดง ที่ ตะกั่ว).
น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด หรือเป็นก้อนอัดแน่น อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจำเพาะ ๓.๕ สีแดงหรือแดงส้ม เป็นมัน มีสูตรเคมี AsS, As2S2, As4S4 ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหนังสัตว์ ใช้เป็นตัวทำให้ขนร่วง ใช้ในงานอุตสาหกรรมทำกระสุนปืนส่องวิถี ใช้ในงานความร้อนสูง เช่น ดอกไม้ไฟ พลุสี ใช้เป็นสารฆ่าสัตว์แทะ เช่น หนู และใช้เป็นสีทา.
ก. เทโลหะเหลวหรือขี้ผึ้งเหลวเป็นต้นลงในแม่พิมพ์ แล้วทิ้งให้แข็งเป็นรูปตามแบบ (มักใช้ในงานประติมากรรมและอุตสาหกรรม) เช่น หล่อพระพุทธรูป หล่อกระทะ หล่อกระบอกปืนใหญ่
น. สถาบันที่บุคคลหลายคนจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ อันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน.
ความเจริญเนื่องด้วยองค์การของสังคม เช่น การเมือง กฎหมาย เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรม, ความเจริญด้วยขนบธรรมเนียมอันดี.
น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร NH3 ลักษณะเป็นแก๊สไม่มีสี กลิ่นฉุน ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำปุ๋ย กรดไนตริก ใยสังเคราะห์ เป็นตัวทำความเย็น.
(-โดฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๑ สัญลักษณ์ H เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไวไฟมาก เบาที่สุดในบรรดาแก๊สทั้งสิ้น ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย เมทิลแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมทำให้นํ้ามันพืชแข็งตัว.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
จิตวิทยาอุตสาหกรรม[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การประกอบศิลปะอุตสาหกรรม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ตำแหน่งของบุคคลในอุตสาหกรรม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การปฏิวัติอุตสาหกรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กลุ่มอุตสาหกรรมทหาร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กลุ่มอุตสาหกรรมทหาร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อุตสาหกรรมในครัวเรือน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (ดีน)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ดีน (สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี)[ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ประชาธิปไตยทางอุตสาหกรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การออกแบบอุตสาหกรรม[ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เพชรอุตสาหกรรม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
การประกันอัคคีภัยอุตสาหกรรม[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
การประกันภัยการบาดเจ็บจากอุตสาหกรรม[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
แร่อุตสาหกรรม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
อุตสาหกรรมแรกตั้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเคลื่อนที่ทางงานอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนประเภทงานอุตสาหกรรม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
การประกันภัยสิทธิในอุตสาหกรรม[ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
จิตวิทยาอุตสาหกรรม[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปฏิวัติอุตสาหกรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปฏิวัติอุตสาหกรรม[วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
สังคมอุตสาหกรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สถานภาพอุตสาหกรรม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
หน่วยหินอุตสาหกรรม[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
การปรับอากาศเชิงอุตสาหกรรม[ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
อุตสาหกรรมศิลป์[ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
อุตสาหกรรมศิลป์[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การปรับให้เป็นอุตสาหกรรม[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อุตสาหกรรม[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
อุตสาหกรรมในครัวเรือน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ประเทศอุตสาหกรรมใหม่[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ประเทศอุตสาหกรรมใหม่[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ประเทศอุตสาหกรรมใหม่[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
อุตสาหกรรมยาง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมการเกษตร[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การควบคุมและระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมยานยนต์[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมสิ่งทอ[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การปฏิวัติอุตสาหกรรม[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีExample:อุตสาหกรรมที่นำเอาวัตถุดิบซึ่งมีองค์ประกอบของสารไฮโดรคาร์บอนไปเข้ากระบวนการเพื่อเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้น ปิโตรเลียมที่ใช้เป็นวัตถุดิบได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท น้ำมันดิบ แนฟทา ก๊าซอีเทน โพรเพน บิวเทน เป็นต้น มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะเม็ดและผงพลาสติก สำหรับเป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปพลาสติกนานาชนิด[ปิโตรเลี่ยม]
อุตสาหกรรมต้นสายExample:การสำรวจ การผลิตและการขนส่งปิโตรเลียม[ปิโตรเลี่ยม]
อุตสาหกรรมปลายสายExample:ประกอบด้วยการกลั่น การขนส่ง และการตลาด โดยผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบส่วนใหญ่จะถูกใช้เป็นเชื้อเพลิง ส่วนที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีหรือใช้ในจุดประสงค์อื่นๆ เช่น ใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่น สำหรับผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่ใช้เป็นเชื้อเพลิงและใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีบ้าง[ปิโตรเลี่ยม]
อุตสาหกรรมอวกาศ[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมมุ่งการส่งออก[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมดอกไม้[เศรษฐศาสตร์]
กลุ่ม 5 (กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 5 ประเทศ)[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมเครื่องบิน[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมในครัวเรือน[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมแร่บอกไซด์[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมเครื่องปั้นเผา[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมถ่านหิน[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมเคมี[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง High technology industry, อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง High technology industry[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมโกโก้[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมมะพร้าว[เศรษฐศาสตร์]
การรวมจุดทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
บริภัณฑ์อุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การส่งเสริมการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การรวมหน่วยทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การทำให้เป็นอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การกำหนดที่ตั้งอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
ศักยภาพทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
ศูนย์เพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
เค้าโครงอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การเปลี่ยนที่ตั้งอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
การรวมกันผูกขาดทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
ของเสียจากอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมการสื่อสารคมนาคม[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมการก่อสร้าง[เศรษฐศาสตร์]
การค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมไฟฟ้า[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์[เศรษฐศาสตร์]
การผลิตทางอุตสาหกรรม[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมแร่[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมพลังงาน[เศรษฐศาสตร์]
อุตสาหกรรมวิศวการ[เศรษฐศาสตร์]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kāk utsāhakam] (n, exp) EN: industrial waste  FR: déchet industriel [ m ]
[kān jārakam thāng utsāhakam] (n, exp) EN: industrial espionage  FR: espionnage industriel [ m ]
[kān patiwat thāng utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution  FR: révolution industrielle [ f ]
[kān patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution  FR: révolution industrielle [ f ]
[kān phatthanā utsāhakam] (n, exp) EN: industrial development ; industry development  FR: développement industriel [ m ]
[kasēttra-utsāhakam] (n) EN: agro-industry
[khaya utsāhakam] (n, exp) EN: industrial waste  FR: déchet industriel [ m ]
[khēt utsāhakam] (n, exp) EN: industrial area  FR: zone industrielle [ f ]
[kotmāi kīokap kān utsāhakam] (n, exp) EN: industrial law
[kø winātsakam thāng utsāhakam] (v, exp) EN: sabotage the industrial production
[Krasūang Kān Utsāhakam] (org) EN: Ministry of Industry  FR: ministère de l'Industrie [ m ]
[Krasūang Utsāhakam] (org) EN: Ministry of Industry  FR: ministère de l'Industrie [ m ]
[nak utsāhakam] (n, exp) EN: industrialist  FR: industriel [ m ]
[nikhom-utsāhakam] (n) EN: industrial estate ; industrial district ; industrial settlement  FR: parc industriel [ m ]
[patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: industrial revolution   FR: révolution industrielle [ f ]
[prathēt utsāhakam] (n, exp) EN: industrial country; advanced country ; modern country  FR: pays industrialisé [ m ]
[rōng-ngān utsāhakam] (n, exp) EN: industrial factory  FR: entreprise industrielle [ f ]
[samnakngān nikhom-utsāhakam] (n, exp) EN: industrial estate office
[Samnakngān Songsoēm Utsāhakam Søftwaē Haengchāt] (org) EN: SIPA  FR: SIPA [ m ]
[Saphā Utsāhakam Haeng Prathēt Thai] (org) EN: Federation of Thai Industries (FTI)
[sinkhā utsāhakam] (n, exp) EN: industrial goods  FR: produit industriel [ m[
[sinkhā utsāhakam song-øk] (n, exp) EN: exports oriented products
[tao utsāhakam] (n, exp) EN: industrial furnace
[thāng utsāhakam] (adj) EN: industrial  FR: industriel
[thāreūa utsāhakam Māp Tā Phut] (n, prop) EN: Map Ta Phut Industrial Port ·
[utsāhakam] (n) EN: industry ; industrial enterprise  FR: industrie [ f ] ; entreprise industrielle [ f ]
[utsāhakam] (adj) EN: industrial  FR: industriel
[utsāhakam banthoēng] (n, exp) EN: entertainment industry
[utsāhakam bao] (n, exp) EN: light industry  FR: industrie légère [ f ]
[utsāhakam børikān] (n, exp) EN: service industries
[utsāhakam dān āhān] (n, exp) EN: food industry  FR: industrie alimentaire [ f ]
[utsāhakam kānbin] (n, exp) EN: aviation industry  FR: industrie aéronautique [ f ]
[utsāhakam kān phalit] (n, exp) EN: manufacture industry  FR: industrie manufacturière [ f ]
[utsāhakam kān thøngthīo] (n, exp) EN: touristic industry ; tourist trade  FR: industrie touristique [ f ]
[utsāhakam kasēt] (n, exp) EN: agro-industry  FR: agro-industrie [ f ]
[utsāhakam lak] (n, exp) EN: basic industry  FR: industrie de base [ f ]
[utsāhakam lek] (n, exp) EN: steel industry  FR: industrie de l'acier [ f ]
[utsāhakammasātbandit] (n, exp) EN: Bachelor of Industrial Technology
[utsāhakam nak] (n, exp) EN: heavy industry  FR: industrie lourde [ f ]
[utsāhakam pāmāi] (n, exp) EN: timber industry
[utsāhakam sān khēmī] (n, exp) EN: chemical industry  FR: industrie chimique [ f ] ; industrie des produits chimiques [ f ]
[utsāhakamsin] (n, exp) EN: industrial arts
[utsāhakam sinlapa] (n, exp) EN: industrial arts
[utsāhakam thī kamlang khayāitūa] (n, exp) EN: growth industry  FR: industrie en pleine croissance [ f ]
[utsāhakam thøngthīo] (n, exp) EN: ourist industry  FR: industrie du tourisme [ m ]
[utsāhakam yā] (n, exp) EN: pharmaceutical industry  FR: industrie pharmaceutique [ f ] ; industrie du médicament [ f ]
[utsāhakam yānyon] (n, exp) EN: car industry ; automobile industry  FR: industrie automobile [ f ]
[utsāhakøn] (n) EN: industrialist ; industrial technologist  FR: industriel [ m ]
[wongjøn chīwit utsāhakam] (n, exp) EN: industry life cycle
[yān utsāhakam] (n, exp) EN: industrial area  FR: zone industrielle [ f ]
Longdo Approved EN-TH
ผู้นำในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจแขนงหนึ่งๆ
(n, slang)ย่อมาจาก work-in-process หมายถึง ชิ้นงานหรือกระบวนการที่กำลังผลิตอยู่ใช้ในทางอุตสาหกรรม เช่น Work in process (WIP) is the value accumulated in the balance sheet throughout a project.
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)สารชนิดหนึ่งที่ใช้ในอุตสาหกรรมบางชนิด เช่น ผลิตโฟม (คำย่อของ chlorofluorocarbon)
(n)อุตสาหกรรมภาพยนตร์
(n)การมีหุ้นส่วนร่วมกันของบริษัทอุตสาหกรรมหลายบริษัท
(adj)เกี่ยวกับอุตสาหกรรมSyn.commercial, market
(n)บริษัทในภาคอุตสาหกรรม (โดยเฉพาะการผลิต)See Also:คนทำงานในภาคอุตสาหกรรม
(n)เขตอุตสาหกรรม
(n)นิคมอุตสาหกรรม
(n)มาตรฐานอุตสาหกรรม
(n)งานอุตสาหกรรม
(n)นักอุตสาหกรรม
(vi)กลายเป็นอุตสาหกรรม
(vt)ทำให้เป็นอุตสาหกรรมSyn.mechanize, computerize
(n)อุตสาหกรรมSee Also:ภาคอุตสาหกรรมSyn.manufactures, capital
(n)การผลิตทีละมากๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
(n)สารแม็กนีเซียมซัสเฟต มีสัญลักษณ์ทางเคมีคือ MgSo4See Also:ดีเกลือ ซึ่งใช้ในทางการแพทย์และอุตสาหกรรมSyn.sulfate
(n)หน่วยเวลาของระบบอุตสาหกรรมSee Also:หนึ่งชั่วโมงการทำงานของคนหนึ่งคน
(n)การผลิตด้วยเครื่องจักรSee Also:การอุตสาหกรรม, การสร้าง, การทำSyn.production, development, making
(n)อุตสาหกรรมการผลิตSee Also:การผลิต, การสร้าง
(n)อุตสาหกรรมภาพยนตร์Syn.filmdom
(n)โรงงานอุตสาหกรรมSee Also:โรงงานSyn.mill, factory, shop
(adj)เกี่ยวกับการสอนด้านอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีSyn.applied, technical, technological
(n)โรงเรียนเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีSee Also:โปลีเทคนิค, โรงเรียนโปลีเทคนิค
(sl)ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการสำหรับฮอลลีวู้ดและอุตสาหกรรมการผลิตภาพยนตร์ของสหรัฐอเมริกา
(n)อุตสาหกรรมภาพยนตร์
Hope Dictionary
abbr. American Federation of Labor and congress of Industrial Organization สหภาพแรงงานและองค์การสภาอุตสาหกรรมแห่งอเมริกา
(แอล' ดอล) n. beta-hydraxy-butyric aldehyde, ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ANSI (อ่านว่า แอนซี) เป็นชื่อของสถาบันเอกชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้น
(แอนซี) ย่อมาจาก American National Standards Institute ซึ่งราชบัณฑิตสถานบัญญัติว่า "สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา" เป็นสถาบันเอกชน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้นดู ANSI C, ANSI character set, ANSI graphics
(บาร์'เริน) n. บารอน, ยศขุนนางชั้นต่ำที่สุดในสภาขุนนาง, คหบดีใหญ่, นักอุตสาหกรรม, ผู้ดี
(บรอด'เวย์) n. ชื่อถนนสายใหญ่ในกรุงนิวยอร์ก, ย่านโรงละครโรงภาพยนต์ที่อยู่ในบริเวณถนนดังกล่าว adj. เกี่ยวกับอุตสาหกรรมโรงภาพยนต์หรือโรงละครSee Also:broadwayite n.
n. คาร์บอนดำสนิทที่ใช้เป็นสีย้อมใช้ในอุตสาหกรรมและเป็นตัวกรองสี
อุตสาหกรรมครอบครัว
(อินดัส'เทรียล) adj. ขยัน, หมั่นเพียร, อุตสาหะ, เกี่ยวกับอุตสาหกรรม
(อินดัส'เทรียลไลซ) vt. ทำให้เป็นอุตสาหกรรม. vi. กลายเป็นอุตสาหกรรม.See Also:industrialisation, industrialiszation n.
(อินดัส'เทรียลไลซ) vt. ทำให้เป็นอุตสาหกรรม. vi. กลายเป็นอุตสาหกรรม.See Also:industrialisation, industrialiszation n.
(อิน'ดัสทรี) n. ความขยันหมั่นเพียร, ความอุตสาหะ, อุตสาหกรรม, ธุรกิจการค้าทั่วไป, เจ้าของกิจการและผู้จัดการทั่วไป, การทำงานที่มีระบบSyn.diligence
ISO <คำย่อ>องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานใช้ตัวย่อว่า ISO (อ่านว่า ไอเอสโอ) มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมทุกประเภท เป็นต้นว่า ภาษาปาสกาล, ภาษา Prolog
International Organization for Standardizationองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานใช้ตัวย่อว่า ISO (อ่านว่า ไอเอสโอ) มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมทุกประเภท เป็นต้นว่า ภาษาปาสกาล, ภาษา Prolog
(แมน'เอาเออะ, แมน'เอาร์) n. ชั่วโมงการทำงานโดยคนหนึ่งคนเป็นหน่วยเวลาการทำงานในอุตสาหกรรมใช้อักษรว่า"man-hr"
(ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S...
(พอลลีเทค'นิค) adj., n. (โรงเรียน) หลายสาขาวิชาที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี.
(โพรเทคทฺ') vt. ป้องกัน, พิทักษ์, รักษา, อารักขา, คุ้มกันอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้า. vi. ป้องกัน
(พระเทค'เชิน) n. การป้องกัน, การคุ้มครอง, การพิทักษ์, การอารักขา, ระบบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูง, เอกสารคุ้มครอง, หนังสือเดินทาง, ค่าคุ้มครอง, ค่าอารักขาSyn.security, defense
(พระเทค'เชินนิสซึม) n. ระ-บบการคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศโดยการจัดเก็บภาษีอากรขาเข้าให้สูงสำหรับสินค้าที่เป็นคู่แข่ง.See Also:protectionist n.
n. ปลาวาฬจมูกรูปสี่เหลี่ยม/เป็นแหล่งสำคัญของไขปลาวาฬในอุตสาหกรรม
(สทรัค) vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ strike. adj. (โรงงาน, อุตสาหกรรม) ปิด
(เทคนะลอจ'จิเคิล) adj. เกี่ยวกับเทคโนโลยี, เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม, เกิดจากการเจริญทางด้านเทคนิคการผลิต.Syn.technologic
(เทคนอล'โลจี) n. วิชาที่เกี่ยวกับศิลปของอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ประยุกต์วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ , ประยุกต์วิทยา, วิชาการ, เทคโนโลยีSee Also:technologist n.
ระบบพร้อมสรรพหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals equipment) ครบบริบูรณ์หนึ่งชุด ที่พร้อมจะทำงานทันทีที่เปิดเครื่อง ศัพท์คำนี้มาจากระบบอุตสาหกรรมรถยนต์ กล่าวคือ พอไขกุญแจ (ภาษาอังกฤษใช้ว่า turn key) เมื่อใด ก็จะขับออกไปได้เลย สรุป ก็คือ ระบบนี้หมายถึงระบบคอมพิวเตอร์เบ็ดเสร็จทั้งระบบ ตั้งแต่ส่วนตัวเครื่อง (hardware) รวมทั้งซอฟต์แวร์ที่จะใช้ (มักใช้ในความหมายที่เป็นการส่งมอบให้ลูกค้า)
n. การแสดงสินค้านานาชาติ, นิทรรศการขนาดใหญ่ที่จัดขึ้น โดยมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมแสดงผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และศิลปกรรม
Nontri Dictionary
(adj)ในทางอุตสาหกรรม, ขยัน, หมั่นเพียร
(n)อุตสาหกรรม, ความพยายาม, ความบากบั่น, ความอุตสาหะ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[ซี ดี เอ็ม](n)กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้
(n)ไคโตซาน ไคโตแซน อนุพันธ์ของ ไคติน(พอลิเมอร์ที่พบมากในเปลือกกุ้ง กระดองปู แกนปลาหมึก) มีประโยชน์หลากหลายเช่น อุตสาหกรรมเกษตร เครื่องสำอาง อุตสาหกรรมยาและอาหาร
(abbrev)สภาอุตสาหกรรมSyn.The Federation of Thai Industries
(org)กลุ่ม 8 ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกSee Also:group of 8
กากของเสียอุตสาหกรรม
(n)อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับงานบริการ
ผู้ประกอบอุตสาหกรรม อ้างจาก Excise Act.2560
(adj)ที่มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรม
(n)สภาอุตสาหกรรมSyn.FTI
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
Longdo Approved JP-TH
[こうぎょう, kougyou](n)อุตสาหกรรม
[こうぎょうちたい, kougyouchitai](n)เขตอุตสาหกรรมSyn.工業地域
[にほんこうぎょうきかく, nihonkougyoukikaku](n)มาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น, JIS
[りんぎょう, ringyou](n)อุตสาหกรรมจักรยาน
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
工業省
[こうぎょうしょう, kougyoushou](n)กระทรวงอุตสาหกรรม
工場団地
[こうじょうだんち, koujoudanchi](n)นิคมอุตสาหกรรม
工業団地
[こうぎょうだんち, kougyoudanchi](n)นิคมอุตสาหกรรม
นิคมอุตสาหกรรม
[工業団地, kougyou danchi]นิคมอุตสาหกรรม
産学連携
[さんがくれんけい, sangakurenkei]ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา
観光事業
[かんこうじぎょう, kankoujigyou](n)อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
Saikam JP-TH-EN Dictionary
生産
[せいさん, seisan] TH: ผลผลิตทางอุตสาหกรรม, ผลิต
生産
[せいさん, seisan] EN: production (vs)
生産
[せいさん, seisan] TH: ผลิตผลจากโรงงานอุตสาหกรรม
生産
[せいさん, seisan] EN: manufacture
産業
[さんぎょう, sangyou] TH: อุตสาหกรรม
産業
[さんぎょう, sangyou] EN: industry
Longdo Approved DE-TH
(die)|die, pl. Industrien| อุตสาหกรรม
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)กระบวนการทางอุตสาหกรรม
Longdo Approved FR-TH
(n)อุตสาหกรรมเครื่องหนัง
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ