(ทอระ-) ก. ถือตัว, หยิ่ง.
(ทนละ-) ก. ตั้งมั่น, มั่นคง.
ก. อึง, ดัง, เอ็ด, อึกทึก.
ก. ดัง, เอ็ด, อึกทึก, แพร่งพราย.
ว. ดังลั่น เช่น เสียงคลื่นลมอึงอล.
ว. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก.
น. นกยาง เช่น กระจาบกระเจ้าจับ ซ้องศัพทอึงอล.
ว. แพร่สนั่นไป, อึงไปทั่ว, อื้อฉาว.
ว. เสียงร้องขอความช่วยเหลืออย่างเอ็ดอึง.
ก. อึกทึก, อึง, เช่น ตระคอกคึกกระอึกอึง (กลบท ๒; ม. คำหลวง จุลพน).
ว. เอิกเกริก เช่น พลเกรอกกระเออกอึง (สรรพสิทธิ์).
(กฺราบ) ก. นอน เช่น เถ้าก็กราบกรนอึงอยู่นั้น (ม. คำหลวง กุมาร).
(กฺริว) ว. เกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บางหมู่ก็กริวเกริ่น (ม. ฉันท์ มหาพน).
ว. เสียงโห่, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บ้างโบกธงธุชพรายพราวโลดเต้นกริวกราว.
(-หน) ว. เอะอะอื้ออึง เช่น แตกตื่นกันกาหลอลหม่าน, ยามพลบสยงกึกก้อง กาหล แม่ฮา (กำสรวล).
น. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย).
(เกฺรียว) ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว.
ว. เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว.
(-หน) ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร (คำพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี (ไชยเชฐ).
(ขะหฺรม) ว. เอ็ดอึง, แซ่, (ใช้แก่เสียง).
ว. คลํ้า, มืดมัว, เขียนเป็น ขข่ำ ก็มี เช่น ฟ้าแมลบมล่นนร้อง ท้องฟ้าเขียวขขํ่า ยงงฝนพพร่ำพรอยพรำ อื้ออึงอัมพรระงม ด้วยกำลงงลมพายุพัดน้นน (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
(ขะโหฺมง) ว. ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง.
(คฺรึกโคฺรม) ว. อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย.
ว. ไม่มีเสียง เช่น นั่งเงียบ, ไม่มีเสียงอื้ออึง เช่น บ้านนี้เงียบ, สงบ, ปราศจากเสียงรบกวนหรือการก่อกวน, เช่น เหตุการณ์เงียบลงแล้ว
ว. ไม่มีเสียงเอะอะ เช่น นั่งทำงานเงียบ ๆ, ไม่เอิกเกริกอื้ออึง เช่น ทำอย่างเงียบ ๆ
นิ่งไม่พูดจา, ไม่ทำเสียงเอะอะโวยวายหรืออื้ออึง, เช่น เขาเป็นคนเงียบ ๆ.
(จันโจด) ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, เช่น จรรโจษประชามี พลพิรียชาญชม (สมุทรโฆษ), จันโจษ ก็ว่า.
ก. โจษจัน, พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, ในบทกลอนใช้ว่า จรรโจษ ก็มี.
(โจด, โจดจัน) ก. พูดอึง, พูดกันเซ็งแซ่, เล่าลือกันอื้ออึง, จรรโจษ หรือ จันโจษ ก็ใช้.
ก. พูดอึง, เล่าลือกันอื้ออึง.
เสียงอื้ออึง เช่น จะชุมฉ่าชายจะมาก (ม. ร่ายยาว ชูชก)
ว. เกรียวกราว, เลื่องลือ, อื้ออึง.
ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, เกรียวกราว.
ว. อื้ออึง, เกรียวกราวขึ้น, รู้กันทั่วไป, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม), โฉ่ฉาว ก็ว่า.
ว. อื้ออึง, เกรียวกราวขึ้น, รู้กันทั่วไป, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม), ฉาวโฉ่ ก็ว่า.
ว. เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร เช่น พูดจาโฉงเฉง.
ว. มีเสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์, โจษกันแพร่หลาย.
ประหลาด, แปลก, เช่น ข้าเห็นร่มชมพู ตรูรัตนพิสาล ตรงตระการกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร), เสียงแตรสังขแลพาทยเภริยนุดนตรี อึงเองบพักตี ตระการ (อนิรุทธ์)
ก. ต่อสู้กัน, สู้รบกันไปมา, เช่น รุมกันพุ่งกันแทง เข้าต่อแย้งต่อยุทธ์ โห่อึงอุจเอาไชย (ลอ).
ก. เอาใจใส่, สนใจ, แยแส, เช่น แก้สาดเสียสิ้นกินแต่ของ อันใบตองหาทะยาทะแยไม่ (ขุนช้างขุนแผน), เมื่อนั้นรจนาไม่ทะยาทะแยแส คิดว่าเงาะลูบหลังทำรังแก ไม่เหลียวแลร้องอึงคะนึงไป (สังข์ทอง).
ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้ซ้ำคำ ๒ คำต้นในวรรค โดยคำที่ซ้ำเปลี่ยนไปทุกวรรค เช่น กุ๋ยกุ๋ยหน้าไม่เก้อละเมอหึง ฟังฟังก็เหมือนแกล้งแพร่งความอึง คิดคิดและให้ขึ้งขุ่นเคืองใจ (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ).
ว. อึงมี่, อึกทึก, เช่น จึงดำรัสตรัสชวนอนุชา ลงจากพลับพลาผายผัน พร้อมพวกกระบี่นี่นัน จรจรัลไปยังฝั่งนที (ตับเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนางลอย).
ว. มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์.