น. พระสาวกชั้นผู้ใหญ่ของพระพุทธเจ้า ๘๐ องค์ ซึ่งรวมพระอัครสาวกทั้ง ๒ องค์เข้าไว้ในจำนวนนั้นด้วย.
ก. กิริยาที่ใช้มือรวบคอรวงข้าวหนักในนาดำหรือข้าวฟางลอยในนาเมืองขึ้นมาทั้งกอและรูดน้ำมาให้เป็นกำแล้วใช้เคียวเกี่ยวรวงข้าวนั้น.
ก. ก้าวยาวอย่างเร็ว, เดินเร็ว.
น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indicaL.
น. สาวกใหญ่ ๘๐ องค์ของพระพุทธเจ้า.
ก. ขับร้องหรือเล่นดนตรีเพื่อให้ครึกครื้นในพิธีแต่งงานบ่าวสาวก่อนถึงฤกษ์ส่งตัวเจ้าสาว.
(ขฺวา) ว. ตรงข้ามกับ ซ้าย, ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านทิศใต้เรียกว่า ด้านขวามือ ด้านทิศเหนือ เรียกว่า ด้านซ้ายมือ, ถ้าหันหลังไปทางต้นนํ้าหรือยอดนํ้า ด้านขวามือเรียกว่า ฝั่งขวา ด้านซ้ายมือเรียกว่า ฝั่งซ้าย, คู่กับซ้าย แต่ใหญ่กว่าหรือสำคัญกว่า เช่น มเหสีฝ่ายขวา อัครสาวกฝ่ายขวา.
(ทาตุ-, ทาด) น. รากศัพท์ของคำบาลีสันสกฤตเป็นต้น เช่น ธาตุ มาจาก ธา ธาตุ ในความว่า ทรงไว้ สาวก มาจาก สุ ธาตุ ในความว่า ฟัง กริยา มาจาก กฤ ธาตุ ในความว่า กระทำ.
(พักตะ-) น. ผู้ภักดี, สาวก. (ส.)
น. พิธีกรรมในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เพื่อระลึกถึงพระเยซูที่ทรงสั่งเสียสาวกขณะที่รับประทานอาหารมื้อสุดท้าย โดยสัญญาว่า เมื่อประกอบพิธีแบ่งขนมปังดังที่พระองค์กระทำ พระองค์จะเสด็จมาประทับร่วมด้วยทุกครั้ง.
(สะราพก, -วก) น. สาวก, ศิษย์.
ว. ครึ่ง ๆ กลาง ๆ, กํ้ากึ่ง, เช่น สาวสะเทิน คือ เพิ่งจะขึ้นสาว หรืออยู่ในระหว่างสาวกับเด็กกํ้ากึ่งกัน.
น. หญิงที่อยู่ในวัยระหว่างสาวกับเด็กก้ำกึ่งกัน.
คำกล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสำนวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สำแดงอานนท์.
ก. เจรจาขอหญิงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการแต่งงาน เช่น เขาขอให้พ่อแม่ไปสู่ขอลูกสาวกำนัน.