199 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*รัฐสภา*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: รัฐสภา, -รัฐสภา-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)congressSee Also:council, parliament, caucus, senateSyn.สภานิติบัญญัติExample:พรรคฝ่ายค้านสามารถคว้าที่นั่งในรัฐสภากลับคืนมาจากการเลือกตั้งครั้งล่าสุดThai Definition:สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มีสภานิติบัญญัติสภาเดียวให้หมายถึงสภานั้นNotes:(กฎหมาย)
(n)Speaker of ParliamentSee Also:President of the National AssemblyExample:พรรคฝ่ายค้านพยายามรวบรวมเสียงของส.ส.เพื่อเข้าชื่อกันขอให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ
(n)member of parliamentSee Also:member of the assemblyExample:การแก้ปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ ต้องอาศัยความคิดเห็นของสมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่เป็นเครื่องชี้ขาดตัดสิน
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(รัดถะสะพา, รัดสะพา) น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร.
น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา.
น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย.
น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง.
น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ.
น. ผู้ฝักใฝ่ในทางการเมือง, ผู้ที่ทำหน้าที่ทางการเมือง เช่นรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา.
น. ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ตำแหน่งประธานรัฐสภา ตำแหน่งประธานกรรมการ, เรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการ.
น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน.
น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ.
น. ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารระดับสูงตำแหน่งหนึ่ง เช่น เลขาธิการสหประชาชาติ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน เลขาธิการรัฐสภา เลขาธิการสมาคม.
น. ระยะเวลาที่กำหนดให้มีการประชุมสภา เช่น สมัยประชุมของรัฐสภา.
น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา
น. บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา, ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิธีดำเนินการทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ระบบรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
รัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
รัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ที่ประชุมรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. ผู้นิยมระบอบรัฐสภา๒. สมาชิกรัฐสภา๓. ผู้เชี่ยวชาญการรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การควบคุมโดยรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ที่ปรึกษาฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การปกครองระบบรัฐสภา [ ดู cabinet government ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กฎข้อบังคับของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอกสารของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เอกสิทธิ์ทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอกสิทธิ์ของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
วิธีดำเนินการทางรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบประธานาธิบดีและรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ (ต่อรัฐสภา)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รัฐสภาโซเวียต[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ระบบรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ที่นั่งฝ่ายค้าน (ในรัฐสภาแบบ อังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผู้ตรวจการของรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ผู้ตรวจการของรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำกราบบังคมทูลของรัฐสภา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำกราบบังคมทูล (ของรัฐสภาอังกฤษ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พระราชดำรัสเปิดสมัยประชุมรัฐสภา (อังกฤษ) [ ดู King's Speech ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กระทู้ถามในรัฐสภา[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ที่นั่งแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สมาชิกสภาแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สมาชิกสภาแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สมาชิกสภาฝ่ายเป็นกลาง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สมาชิกสภาแถวหน้า (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่นั่งแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่นั่งฝ่ายเป็นกลาง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่นั่งแถวหน้า (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่นั่งฝ่ายรัฐบาล (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ที่นั่งฝ่ายค้าน (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ)[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันExample:ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
หัวเรื่องระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
องค์การรัฐสภาอาเซียน[TU Subject Heading]
สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก[TU Subject Heading]
การปกครองระบบรัฐสภา[TU Subject Heading]
อาคารรัฐสภา[TU Subject Heading]
การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน[TU Subject Heading]
อังกฤษ. รัฐสภา[TU Subject Heading]
อังกฤษ. รัฐสภา. สภาขุนนาง[TU Subject Heading]
ญี่ปุ่น. รัฐสภา[TU Subject Heading]
ผู้ตรวจราชการแห่งรัฐสภา[TU Subject Heading]
สุนทรพจน์ในรัฐสภา[TU Subject Heading]
ไทย. รัฐสภา. สภาผู้แทนราษฎร[TU Subject Heading]
ไทย. รัฐสภา. วุฒิสภา[TU Subject Heading]
ไทย. รัฐสภา[TU Subject Heading]
สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา[TU Subject Heading]
สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา. สภาผู้แทนราษฎร[TU Subject Heading]
สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา. วุฒิสภา[TU Subject Heading]
องค์การรัฐสภาอาเซียน " เป็นเวทีการประชุมของผู้แทนรัฐสภาของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดขึ้น เป็นประจำทุกปี "[การทูต]
การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น[การทูต]
ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ[การทูต]
นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ[การทูต]
ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment[การทูต]
สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยูที่นครเจนิวา ประเทศวิตเวอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 153 ประเทศ และ 8 กลุ่มสมาชิกสมทบ (กันยายน 2552)[การทูต]
สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 140 ประเทศ (ตุลาคม 2547)[การทูต]
คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน[การทูต]
ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง[การทูต]
การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ[การทูต]
องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
รัฐสภาได้ผ่าน ตามพระราชบัญญัติการป้องกันการก่อการร? ซึ่งช่วยให้ผู้ต้องสงสัยก่อการร้ายที่จะ จัดขึ้นโดยเ?In the Name of the Father (1993)
เขาเป็นคนที่ กรินเบเร รัฐสภาเหรียญเกียรติยศ คนคือวีรบุรุษสงคราม!First Blood (1982)
ผมจะได้รับลูกหมานั้น และผมจะไห้รัฐสภาเหรียญเกียรติยศไปที่ตับของเขาFirst Blood (1982)
ที่นี่ จอห์น แรมโบ้ ผู้ชนะของรัฐสภาเหรียญเกียรติยศอยู่First Blood (1982)
เซสชั่นร่วมกันของรัฐสภาเมื่อ วานนี้ เขาบอกว่าเขาไม่จะ2010: The Year We Make Contact (1984)
เราสมาชิกรัฐสภาขอให้อดทน กับเหตุการณ์สาธารณะที่เกิดกับเรา... ...ขณะที่เราตรงออกจากรูปแบบการปฎิรูปภาษี ของการผิดพลาดจากรัฐมนตรีท่านแรก ดังนั้นที่ไหน, ความเป็นจริง, คือเราสมมุติการ ได้รับชนิดของเงินหรือไม่?Akira (1988)
สมาชิกรัฐสภา ท่าน ปธน.Brokedown Palace (1999)
คุณอยากให้ฉันเขียนไปยังสมาชิกรัฐสภา?Brokedown Palace (1999)
บรรษัทดับบลิว อาร์ เกรซ และรัฐบาลสหรัฐฯ ที่จดสิทธิบัตรต้นนีม ถูกเพิกถอนสิทธิบัตรจากคดีที่เราฟ้องร้อง โดยร่วมมือกับพรรคกรีนของรัฐสภายุโรปThe Corporation (2003)
สมาชิกรัฐสภาของพวกเรา เพื่อนที่ดีทีสุดของคนยากจนThe Education of Little Tree (1997)
ฉันพานายมาที่ห้องสมุดรัฐสภา.National Treasure (2004)
เขาคือ กาย ฟลอกส์ และก็รู้ว่าเขาพยายามระเบิดตึกรัฐสภาในปี 1605V for Vendetta (2005)
คนที่เคยจะระเบิดรัฐสภาน่ะ หรือเขาจะทำV for Vendetta (2005)
คุณคิดว่าการระเบิดตึกรัฐสภา จะทำให้ประเทศนี้ดีขึ้นจริงเหรอ?V for Vendetta (2005)
แต่มีรายงานที่แยกออกมาว่า... ...อาจจะเป็นทางรถไฟ, แม้ว่าจะขัดแย้งกับข้อเท็จจริง ที่อุโมงค์รอบๆรัฐสภา... ...ได้ถูกปิดตายหมดแล้ว.V for Vendetta (2005)
หลังจากผมทำลายรัฐสภา... ...สิ่งเดียวที่เขาจะยื่นขอเสนอให้ใครสักคน ใครสักคนที่จะมารับบาปแทนเขาV for Vendetta (2005)
ผมผ่านไปแถวรัฐสภามาV for Vendetta (2005)
นี่เป็นทางไปที่รัฐสภาใช่ไหม?V for Vendetta (2005)
หม่อมฉันจะปฏิรูปรัฐสภาของพวกเราพะยะค่ะLee San, Wind of the Palace (2007)
ถูกพบโดยเรือล่าปลาวาฬของอเมริกา แล้วรัฐสภาส่งคืนให้อังกฤษ.National Treasure: Book of Secrets (2007)
ห้องสมุดรัฐสภาไงNational Treasure: Book of Secrets (2007)
ไรลี่ เจอฉันที่หอสมุดรัฐสภาในอีก 20 นาทีNational Treasure: Book of Secrets (2007)
เกตส์ ลักพาตัวประธานาธิบดี แต่ปล่อยท่าน แล้วเขาไปที่ห้องสมุดของรัฐสภา ?National Treasure: Book of Secrets (2007)
- หอสมุดอาคารรัฐสภาEagle Eye (2008)
หอสมุดรัฐสภา ที่นั่นมีอุโมงค์Eagle Eye (2008)
คุณไปให้ถึงอาคารรัฐสภา ตามหาหัวหน้า รปภEagle Eye (2008)
คุณคราวลีย์ ขอต้อนรับสู้รัฐสภาEagle Eye (2008)
ยังคงไม่ปรากฏ ชื่อผู้ต้องสงสัย ในการโจมตีอุโมงค์แบล์ และการโจมตีใน อาคารรัฐสภาEagle Eye (2008)
เราทีเทปท่านเดวิด ฟลินช์ กล่าวถึงวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการออกกฏหมาย ของมาทาร์วิลของสุภาพบุรุษชาวใต้ผู้นี้ ในขณะที่ท่านกำลังดำเนินการเกี่ยวกับแคมเปญ สำหรับผู้แทนคณะรัฐสภาTo Love Is to Bury (2008)
ฉันเคยเห็นหน้าเขามาก่อน เขาเป็นสมาชิกรัฐสภาThe Bank Job (2008)
ทางทำเนียบขาวได้กล่าว\ กับทางเครือข่ายNBCว่า การถอดถอนท่านปธน.โดย รัฐสภายังไม่มีวิธีการ\ ที่ชัดแจ้งในตอนนี้Frost/Nixon (2008)
ผมต้องสู้กับศึกถึงห้าด้าน สู้กับสื่อที่ลำเอียง กับรัฐสภาที่แบ่งพรรคแบ่งพวก กรรมาธิการเออร์วินซึ่งมีความลำเอียงFrost/Nixon (2008)
งั้นเค้าไปทำบ้าอะไร ที่หน้ารัฐสภา มีระเบิดคาดที่หน้าอกเค้าด้วยChapter Six 'Shades of Gray' (2009)
ที่สระน้ำตรงกลางรัฐสภา คุณไปที่นั่นทันทีนะDay 7: 3:00 p.m.-4:00 p.m. (2009)
ฟังนะแจ็ค ถ้านายเชื่อใจฉัน เจอกันที่หัวมุมตรงรัฐสภาDay 7: 5:00 p.m.-6:00 p.m. (2009)
อย่าลืมตัวของตัวเอง ท่านรัฐสภาThe Last Days of Disco Stick (2009)
รัฐสภา เพิกถอนสิทธิ การรวมตัวกันเป็นกลุ่มThe End (2009)
สิ่งที่เหลือในรัฐสภา ก็แทบจะThe End (2009)
ใช่ หลังจากสมาชิกรัฐสภาครูเกอร์ตายEnough About Eve (2009)
ใช่ หลังจากสมาชิกรัฐสภาครูเกอร์ตายThe Grandfather: Part II (2009)
พวกเราต้องการพาคุณ ไปชมการเลือกตั้งผู้แทนรัฐสภาThe Grandfather: Part II (2009)
ตอนนี้พวกเราเตรียมตัวที่จะเรียก \ ตำแหน่งผู้แทนรัฐสภาThe Grandfather: Part II (2009)
จริงๆแล้ว ฉันกำลังทำงานให้กับ สมาชิกรัฐสภา ทริปป์ แวน เดอร์ บิลท์They Shoot Humphreys, Don't They? (2009)
คน วัว อินทรี สิงห์โต รัฐสภาคือสิงห์โตล่ะสิ?Sherlock Holmes (2009)
คุณกับแบล็กวู๊ด วางแผนสังหารหมู่ ในท่อใต้รัฐสภา ไม่ถึงชั่วโมงก่อนSherlock Holmes (2009)
และแก๊สจะวิ่งไปตามท่อ และกระจายเข้าสู่ระบบ ระบายอากาศที่พุ่งตรงไปในรัฐสภาSherlock Holmes (2009)
ธงชาติยังคงชักครึ่งเสาที่รัฐสภา เกิดสภาวะตกต่ำอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำRepo Men (2010)
ผู้ว่าฯ แองเล่อร์ต้องการผลักดัน คำสั่งห้ามให้ผ่านรัฐสภาให้ได้ ทำอะไรก็ได้ซักอย่างYou Don't Know Jack (2010)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kīokap ratthasaphā] (adj) EN: parliamentary  FR: parlementaire
[rabop ratthasaphā] (n, exp) EN: parliamentary system  FR: régime parlementaire [ m ]
[ratthasaphā] (n) EN: parliament ; congress  FR: parlement [ m ] ; congrès [ m ]
[samāchik ratthasaphā] (n, exp) EN: member of parliament ; member of the assembly  FR: député [ m ] ; parlementaire [ m ] ; membre du Parlement [ m ]
Longdo Approved EN-TH
(n)การแถลงนโยบายประจำปีต่อรัฐสภาของประธานาธิบดีสหรัฐ
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ที่นั่งของสมาชิกรัฐสภา (ที่ไม่ใช่รัฐมนตรีหรือตำแหน่งสำคัญ)Ant.front bench
(adj)(รัฐสภา) ซึ่งมีสองส่วน
(vi)ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่งSee Also:วิ่งเต้นSyn.solicit, beg
(vt)ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่งSee Also:วิ่งเต้น
(n)สภาล่างของรัฐสภา (House of commonsz)
(n)เสียงข้างน้อยในรัฐสภา
(n)ผู้ตรวจการของรัฐสภาSee Also:ผู้ตรวจการที่ไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาล
(n)รายการหัวข้อที่อภิปรายในรัฐสภาแต่ละวัน
(n)รัฐสภาSyn.House of Commons
(n)สมาชิกรัฐสภาSyn.legislator
(n)ผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการและขั้นตอนปฎิบัติงานของรัฐสภา
(adj)เกี่ยวกับรัฐสภาSyn.governmental, administrative
(n)อาคารรัฐสภาของมลรัฐ
(adj)ซึ่งขัดแย้งกับระเบียบการของรัฐสภา
Hope Dictionary
(แคพ'พิทอล) n. อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา, อาคารนิติบัญญัติของรัฐ, ศาลากลาง
(คอง'เกรส) { congressed, congressing, congresses } n. รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, การชุมนุม, การสังวาส. vi. รวมกลุ่ม, ชุมนุมSee Also:congressional adj. ดูcongress congressionalist n. ดูcongressSyn.council, assembly, concourse
(คอง'กริสเมิน) n. สมาชิก (ชาย) รัฐสภาอเมริกา (โดยเฉพาะของสภาผู้แทน) -pl. congressmen
(คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต
(n., adj. เฮาซฺ, vt., vi. เฮาซ) n. บ้าน, เรือน, โรง, โรงเรือน, ครอบครัว, สถาบัน, รัฐสภา, วงศ์ตระกูล, ห้องโถง, ช่อง vt. ให้ที่อยู่อาศัย, มี, ซ่อนไว้. vi. พำนัก, หลบซ่อน, อยู่. adj. เกี่ยวกับบ้านSyn.dwelling
n. สภาล่างของรัฐสภา (House of Commons)
n. สภาล่างของรัฐสภา (House of Commons)
n. ผู้นำพรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา
(ไมนอ'ริที, มินอ'ริที) n. ชนหมู่น้อย, กลุ่มที่น้อยกว่า, กลุ่มสมาชิกรัฐสภาที่มีเสียงข้างน้อย, ความเป็นผู้เยาว์Syn.childhood, infancy
(พาร์'ละเมนท) n. สภา, รัฐสภาSee Also:parliamentary adj.
(พาร์ลิเมนแท'เรียน) n. สมาชิกรัฐสภา
(พาร์ละเมน'ทะรี) adj. เกี่ยวกับรัฐสภา
(รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่านSyn.perusal, interpret
(ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม
(สเทท'เฮาซฺ) n. อาคารรัฐสภาของมลรัฐ, เมืองหลวงของมลรัฐ
(ซัม'เมินซ) n. การเรียกตัว, การออกหมายเรียก, การขอร้อง, การเรียกร้อง, หมายศาล, หมายเรียก, การเรียกตัวให้มาประชุมรัฐสภา. pl. summonsesSyn.subpoena, call
(อันพาร์ละเมน'ทะรี) adj. ขัดกับวิธีการหรือระเบียบของรัฐสภา.
(เวสทฺ'มินสเทอะ) n. รัฐสภาอังกฤษ, สภา
Nontri Dictionary
(n)ศาลากลาง, สถานที่ประชุมของรัฐสภาอเมริกัน
(n)ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส
(adj)ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ
(n)บ้าน, ที่พัก, สำนัก, สถานที่, ครอบครัว, รัฐสภา
(n)สภานิติบัญญัติ, รัฐสภา
(n)รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ
(adj)เกี่ยวกับรัฐสภา, ของรัฐสภา, ซึ่งมีรัฐสภา
(n)สภาสูง, รัฐสภา, วุฒิสภา
(n)วุฒิสมาชิก, สมาชิกรัฐสภา
(adj)เกี่ยวกับวุฒิสภา, เกี่ยวกับสมาชิกรัฐสภา
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[คอง'กริสเมิน](n)สมาชิก(ขาย)รัฐสภาอเมริกา(โดยเฉพาะของสภาผู้แทน)
ระบบการจัดหมวดหมู่แบบรัฐสภาอเมริกัน
Longdo Approved JP-TH
[こっかい, kokkai](n)รัฐสภา
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
議会
[ぎかい, gikai](n)รัฐสภา
Longdo Approved DE-TH
(n)|das, pl. Parlamente| รัฐสภา
Longdo Unapproved DE-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
[ไร้-ชทาค](n)รัฐสภาเยอรมัน
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ