น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือข้างใดข้างหนึ่งตั้งหงาย หักข้อมือระดับแง่ศีรษะ อีกมือหนึ่งตั้งวงกลางข้างลำตัว แขนตึง.
น. หญ้าหรือต้นข้าวจำนวนมากที่เอามารวมกันเป็นมัดใหญ่ ๆ.
ก. รำของทางภาคเหนือและภาคอีสาน, กราย.
น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนลาวแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก.
น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก.
น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือทั้งสองตั้งวงกลาง ลำตัวตั้งตรง หน้าตรง.
น. ชื่อท่ารำแบบหนึ่ง โดยมือทั้งสองตั้งวง แขนตึงส่งไปด้านหลัง เอียงศีรษะข้างใดก็ได้.
ยวบยาบ, แกว่ง เช่น ลมไกวกิ่งกลฟ้อน ก็กระย่อนอยู่ยานโยน (สมุทรโฆษ)
น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่ซีกหรือไม้แก่นเป็นคู่ สำหรับตีเป็นจังหวะในการฟ้อนรำขับร้อง.
น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้แผ่นบาง ๆ หรือแผ่นทองเหลืองหรือแผ่นงาช้างหลาย ๆ อัน ด้ามจิ้ว ตอนหัวข้างหนึ่งเจาะรูร้อยเชือก เวลาตีใช้มือข้างหนึ่งจับตรงหัวทางเชือกร้อย แล้วฟาดข้างหนึ่งลงบนฝ่ามืออีกข้างหนึ่ง สำหรับตีเป็นจังหวะประกอบการฟ้อนรำและขับร้อง หรือใช้ตีรัวเป็นอาณัติสัญญาณ.
(กะหฺลาบ) น. หมวด เช่น รูปที่เกิดจากจิตเป็นสมุฏฐาน มี ๖ กลาป (ปรมัตถธรรมสังเขป จิตตสังเขป และภาคผนวก), ฟ่อน, กำ, มัด
น. ยานชนิดหนึ่ง คล้ายเลื่อน แต่ใช้เทียมด้วยวัวหรือควาย ไม่มีล้อ ใช้ลากไปตามท้องนาและหมู่บ้าน สำหรับบรรทุกฟ่อนข้าวเป็นต้น.
(ขะเหฺน็ด) น. ฟางที่ทำเป็นเชือกมัดฟ่อนข้าว, ขะเน็ด ก็ว่า.
ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนาแหล่งน้ำ.
ว. ไพเราะ, เสนาะหู, เช่น ละครก็ฟ้อนร้อง สุรศัพทกลับขาน ฉับฉ่ำที่ตำนาน อนิรุทธกินรี (บุณโณวาท).
การแสดงที่ไม่จับเป็นเรื่องราว เช่น ชุดระบำรำฟ้อน ชุดเบิกโรง, การแสดงตอนหนึ่ง ๆ ของโขนเป็นต้น เช่น ชุดพรหมาสตร์ ชุดนางลอย
น. ชื่อกลองสองหน้าชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร หน้ากว้างประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ใช้ตีประกอบการฟ้อนและการเล่นพื้นเมืองทางภาคเหนือ, ใช้ตีคู่กับ กลองแอว.
(นะริดตะยะ-, นะรึดตะยะ-, นะริด, นะรึด) น. การระบำ, การฟ้อนรำ, การเต้นรำ.
(นาด, นาตะ-, นาดตะ-) น. นางละคร, นางฟ้อนรำ, ใช้ประกอบกับคำอื่น หมายความว่า หญิงสาวสวย เช่น นางนาฏ นุชนาฏ.
(นาดตะกำ) น. การละครหรือการฟ้อนรำ
(นาดตะสิน) น. ศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรำ.
(นาดตะยะ-) ว. เกี่ยวกับการฟ้อนรำ, เกี่ยวกับการแสดงละคร, เช่น นาฏยศาลา.
(พะรดตะ-) น. วิชาฟ้อนรำทำเพลง.
น. ฟ่อนหญ้า, หญ้าหรืออาหารสำหรับสัตว์.
ก. อาการที่เอาสิ่งต่าง ๆ เข้ามาไว้ด้วยกันให้เป็นฟ่อน เป็นมัด เป็นกลุ่ม เป็นกอง เป็นต้น, เอามือทั้ง ๒ ข้างหรือวงแขนโอบรัดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าหาตัว เช่น รวบตัว รวบเอว รวบขา
น. การแสดงที่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น แขน ขา ลำตัว นิ้ว มือ และเท้า ไปตามลีลาดนตรี ใช้ผู้แสดงตั้งแต่ ๑ คนขึ้นไป มีลีลาและแบบท่ารำสวยงาม เช่น รำแม่บท รำฉุยฉายพราหมณ์, ถ้าเป็นการถืออาวุธประกอบเรียกว่า รำอาวุธ เช่น รำดาบ รำทวน รำกริช, บางครั้งมีการรำเป็นหมู่ก็เรียกว่า รำ เช่น รำโคม รำวง, อาการที่แสดงท่าแสดงท่าคล้ายคลึงเช่นนั้น, ฟ้อน.
น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่าแต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ ฟ้อนลาวแพน ก็เรียก.
(ลาสะ-) น. การฟ้อนรำ, การเต้นรำ.
น. เครื่องสวมปลายนิ้วมือให้ดูเป็นเล็บยาวงอนในเวลาฟ้อนรำ.
น. ยานชนิดหนึ่งไม่มีล้อ ใช้ลากไปตามท้องนาและหมู่บ้าน สำหรับบรรทุกฟ่อนข้าวเป็นต้น, บางถิ่นของภาคกลางเรียกว่า กะเลิด, ยานชนิดหนึ่งใช้แถบขั้วโลก ไม่มีล้อ ใช้ลากไปบนพื้นหิมะหรือบนพื้นนํ้าแข็ง.
ทอดแขนหรือกรายแขนอย่างอ่อนช้อยในการฟ้อนรำ.