230 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*พุทธ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: พุทธ, -พุทธ-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฌาณ
(n)ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย
Longdo Unapproved TH-DHAMMA - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(n)National Office of Buddhism
Longdo Unapproved TH - EN**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
องค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
(n)The World Fellowship of Buddhist Youth
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)BuddhaSyn.พระพุทธ, พระพุทธเจ้าThai Definition:ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว เป็นพระนามของพระบรมศาสดาNotes:(บาลี)
(n)enlightened personExample:คนโบราณมีความเชื่อว่า มนุษย์มีธาตุแห่งความเป็นพุทธะซ่อนอยู่Thai Definition:ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้วNotes:(บาลี)
(n)intelligenceSee Also:knowledgeThai Definition:ปัญญา, ความฉลาด, ความรู้Notes:(บาลี)
(n)BuddhistSyn.พุทธศาสนิกชนExample:ชาวพุทธเชื่อว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่วUnit:คน
(n)BuddhaSee Also:Lord Buddha, image of BuddhaExample:พระรัตนตรัยประกอบด้วย พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์Unit:องค์Thai Definition:พระผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว (ใช้เฉพาะพระพุทธเจ้า)
(n)Buddha's lifetimeSee Also:Buddha era, Buddha periodExample:มนุษย์ได้เอาใจใส่ในเรื่องการบินมานานตั้งแต่ก่อนพุทธกาลแล้วUnit:สมัยThai Definition:สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่
(n)Buddha's graceSee Also:praise of the BuddhaSyn.คุณพระพุทธเจ้า, พระพุทธคุณExample:พระพุทธเจ้ามีพุทธคุณเป็นเลิศแก่พวกเราชาวพุทธสาสนิกชนทุกคนThai Definition:คุณของพระพุทธเจ้าอย่างย่อที่สุดมี 3 ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระกรุณาคุณ
(n)image of BuddhaSyn.พุทธปฏิมากร, พุทธปฏิมา, พระพุทธรูปExample:ภายในมีพุทธรูปสำริดขนาดใหญ่พอกด้วยสมุกทารักไม่ปิดทองUnit:องค์Thai Definition:รูปจำลองของพระพุทธเจ้า
(n)Buddhist churchSee Also:sphere of influence of BuddhismSyn.พุทธอาณาจักรThai Definition:วงการพระพุทธศาสนา เฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการบริหารพระศาสนา
(n)Buddha's utterancesExample:พระราเมศวรมีจิตศรัทธาอนุโมทนาด้วยกับพุทธฎีกาที่พระะครูจุฑามณีศรีสังฆราชนำมากล่าวThai Definition:ถ้อยคำของพระพุทธเจ้าNotes:(บาลี)
(n)monk's utterancesExample:สมเด็จพระบรมราชาธิบดีศรีมหาจักรพรรดิราชมีจิตศรัทธาอนุโมทนาด้วยกับพุทธฎีกาของพระสังฆราชฯ ในการตั้งมหาเถรสาริบุตรขึ้นเป็นพระมหาเถรปิยทัศศรีสาริบุตรThai Definition:ถ้อยคำของสมเด็จพระสังฆราชNotes:(บาลี)
(n)Buddhist moral codeSee Also:Buddhist teaching, Buddhist moralityExample:คุณกุหลาบสนใจพุทธธรรมในแนวทางปฏิบัติแบบภาวนาThai Definition:หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนาพุทธNotes:(บาลี/สันสกฤต)
(n)offerings to BuddhaSee Also:holding a Buddhist religious serviceExample:ชาวบ้านช่วยกันบริจาคเงินสร้างศาลาวัดเพื่อเป็นพุทธบูชา โดยจะตกแต่งเพิ่มเติมให้สวยงามตามทัศนะของตนเองThai Definition:การบูชาพระพุทธเจ้า, เครื่องบูชาพระพุทธเจ้า
(n)Buddhist dioceseSee Also:Buddhist provinceThai Definition:เขตแดนที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพุทธ
(n)Buddhist placeExample:ในสมัยสุโขทัยมีการสร้างประติมากรรมขนาดใหญ่ตกแต่งพุทธสถาน โดยยึดถืออุดมคติสะท้อนความเชื่อทางพุทธศาสนาเรื่องไตรภูมิUnit:แห่ง, ที่Thai Definition:สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา
(n)lifetimeSee Also:Buddhist lifetimeExample:พระเจ้าอโศกเป็นกษัตริย์องค์หนึ่งที่มีพระชนม์ในช่วงพุทธสมัยUnit:สมัยThai Definition:สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่
(n)BuddhaSee Also:Butsu, Gautama, Gautama BuddhaExample:ให้พวกเราระลึกถึงคุณของพุทธองค์ทุกคืนก่อนที่เราจะล้มตัวลงนอนThai Definition:องค์พระพุทธเจ้า
(n)shrineExample:ใบเสมาเป็นสัญลักษณ์แห่งการกำหนดส่วนที่เป็นพุทธาวาสแดนบริสุทธิ์แห่งศาสนาThai Definition:ส่วนหนึ่งของวัดประกอบด้วย โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ซึ่งใช้เป็นที่ประกอบสังฆกรรม โดยมีกำแพงกันไว้ต่างหากจากส่วนที่พระภิกษุสามเณรอยู่อาศัย
(n)BuddhaSee Also:Lord BuddhaSyn.พระพุทธเจ้า, พระพุทธExample:วัตถุทางศาสนาสร้างขึ้นเพื่อให้รำลึกถึงคุณขององค์พุทธเจ้าUnit:องค์Thai Definition:นามพระบรมศาสดาแห่งศาสนาพุทธ
(n)image of BuddhaSyn.พุทธปฏิมากร, พระพุทธรูปExample:วัดวาในสมัยสุโขทัยมีองค์พุทธปฏิมาที่งดงามมากมายUnit:องค์Thai Definition:รูปเปรียบหรือรูปแทนองค์พระพุทธเจ้า คือ พระพุทธรูป
(n)Buddhist proverbSee Also:Buddha's proverbExample:รัฐบาลต้องสำนึกเสมอว่า การที่จะหวังพึ่งความช่วยเหลือจากใคร เราจะต้องช่วยตัวเองก่อน เหมือนกับพุทธภาษิตที่ว่า ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตนThai Definition:ภาษิตทางศาสนาพุทธ
(n)BuddhistSyn.ชาวพุทธ, พุทธศาสนิกชนExample:ตามโบราณราชประเพณี พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ต้องทรงเป็นพุทธมามกะThai Definition:ผู้ประกาศตนว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา
(n)BuddhismSyn.ศาสนาพุทธExample:พระพุทธศาสนาเกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงปฐมเทศนาหรือเทศน์ครั้งแรก ณ ชมพูทวีปUnit:ศาสนาThai Definition:ศาสนาของพระพุทธ
(n)Buddhist associationExample:เขามีความเห็นอยากที่จะจัดตั้งพุทธสมาคมสำหรับจังหวัดขึ้นมาThai Definition:แหล่งหรือที่ประชุมของพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันด้วยมีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการ
(n)Buddha's successorSyn.พุทธังกูรUnit:องค์Thai Definition:หน่อพระพุทธเจ้า คือผู้ที่จะได้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้าNotes:(บาลี)
(n)BuddhismSyn.พุทธศาสนาExample:อนันต์ กาญจนพาสต์เปิดเผยครั้งแรกว่าเขาศรัทธาและนับถือศาสนาพุทธมากตั้งแต่สมัยเด็ก ทุกอาทิตย์จะต้องเข้าวัดฟังเทศน์Thai Definition:ลัทธิความเชื่อที่ถือหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นแนวทางปฏิบัติ
(n)virtues of the BuddhaExample:ข้าพเจ้าขอน้อมกายก้มกราบพระพุทธคุณอันประเสริฐสุดในไตรโลกด้วยเศียรเกล้าThai Definition:คุณของพระพุทธเจ้าอย่างย่อที่สุดมี 3 ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระกรุณาคุณ
(n)Buddha's footprintSee Also:footprint of the BuddhaSyn.รอยพระบาท, รอยเท้าExample:รอยพระพุทธบาทที่จังหวัดขอนแก่นเป็นรอยพระพุทธบาทสลักลงบนพื้นหินทรายธรรมชาติ เป็นร่องรอยชัดเจนสลักปลายพระบาทไปทางทิศตะวันออกUnit:องค์, รอยThai Definition:รอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า อันเป็นที่สักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน
(n)image of BuddhaSee Also:Statue of Buddha, Buddha imageSyn.พุทธรูปExample:เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญต่างๆ แบบท่าทางของพระพุทธรูปจึงมีลักษณะเป็นปางต่างๆ ตามพุทธประวัติUnit:องค์Thai Definition:รูปหล่อจำลองพระพุทธเจ้า, รูปปั้นพระพุทธเจ้า
(n)BuddhistExample:พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสเอาไว้ว่า ผู้ที่สืบทอดพระพุทธศาสนาก็คือ พุทธบริษัท 4Unit:คนThai Definition:บริษัทของพระพุทธเจ้า, คนที่นับถือพระพุทธเจ้าแบ่งเป็น 4 กลุ่ม เรียกว่า บริษัท 4 คือ ภิกษุ, ภิกษุณี, อุบาสก และอุบาสิกา
(n)Buddhist philosophyExample:ในพุทธปรัชญาเราไม่พบความคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเช่นที่พบในปรัชญาตะวันตกThai Definition:หลักแห่งความรู้และความจริงในศาสนาพุทธ
(n)Buddhist eraSyn.พุทธศักราชExample:ตามหลักฐานทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ปราสาทหินเขาพระวิหารก่อสร้างในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 16Thai Definition:สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ในรอบ 100 ปี
(n)Buddhist eraSyn.พ.ศ., พุทธศกExample:พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อพุทธศักราช 1826Thai Definition:ปีนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานมา
(n)BuddhismThai Definition:ความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
(n)intellectSee Also:wisdom, intelligence, understanding, rationality, perceptionExample:้ฟังท่านพูดมานานแล้วเกิดพุทธิปัญญาขึ้นบ้างหรือยังThai Definition:ความรู้, ปัญญา, ความเข้าใจ
(n)pagodaExample:ที่นี่มีการจำลองพุทธเจดีย์ไว้ให้ผู้คนได้กราบไหว้บูชาThai Definition:เจดีย์ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า มี 4 ชนิด คือ ธาตุเจดีย์ บริโภคเจดีย์ ธรรมเจดีย์ และอุเทสิกเจดีย์
(n)half of the Buddhist eraExample:แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับนี้ เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติหลังกึ่งพุทธกาล
(v)refer mistakenly the Buddha's teachingSee Also:to express the Buddha's words incorrectlyThai Definition:อ้างพุทธพจน์ผิดๆ ถูกๆ
(n)Buddha's mantraSee Also:Buddha's stanza chant of the BuddhaExample:พ่อนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ เนื่องในงานทำบุญขึ้นบ้านใหม่Thai Definition:คำสำหรับสวดบูชาพระพุทธ
(n)Lord BuddhaSee Also:BuddhaSyn.พระพุทธเจ้าExample:พระพุทธองค์ทรงสอนสั่งไม่ให้เราตกอยู่ในความประมาทUnit:องค์, พระองค์Thai Definition:คำเรียกพระพุทธเจ้า เป็นสรรพนามบุรุษที่ 3Notes:(สันสกฤต), (ราชา)
(n)BuddhaExample:งานปั้นหรืองานแกะสลักในพุทธศาสนามักมีรูปดอกบัวเป็นเครื่องหมายของการประสูติของพระพุทธเจ้าUnit:พระองค์Thai Definition:คำเรียกศาสดาในพระพุทธศาสนา
(n)image of BuddhaSyn.พุทธปฏิมา, พระพุทธรูปThai Definition:รูปเปรียบหรือรูปแทนองค์พระพุทธเจ้า คือ พระพุทธรูป
(n)biography of Lord BuddhaExample:วัดไชยวัฒนารามมีประติมากรรมผนังเป็นเรื่องพุทธประวัติรอบพระวิหารThai Definition:เรื่องราวของพระพุทธเจ้า
(n)Buddha's proverbsSee Also:saying of the BuddhaExample:พระพุทธภาษิตเป็นถ้อยคำที่เราสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ทุกยุคทุกสมัยThai Definition:ถ้อยคำอันเป็นคำกล่าวของพระพุทธเจ้า
(n)BuddhismSyn.พุทธศาสนา, ศาสนาพุทธExample:หลวงตาจันทร์ได้ทำประโยชน์ให้พระพุทธศาสนาและสังคมมาเป็นเวลานานThai Definition:ศาสนาของพระพุทธ
(n)BuddhistSyn.ชาวพุทธExample:พระพุทธชินราชเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของเมืองพิษณุโลก ที่พุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศจำต้องเดินทางไปนมัสการเพื่อความเป็นสิริมงคลUnit:คนThai Definition:ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา
(pron)IExample:ด้วยบารมีพระปกเกล้าฯ ขอให้ข้าพระพุทธเจ้ารอดอันตรายทุกอย่างThai Definition:เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตัวผู้พูดกราบทูลเจ้านายชั้นสูงหรือพระเจ้าแผ่นดิน
(n)holy waterSyn.น้ำมนต์Example:พิธีหลั่งน้ำพระพุทธมนต์บ่าวสาวจะเริ่ม ณ บัดนี้Thai Definition:น้ำที่เสกเพื่ออาบ กิน หรือ ประพรม เป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล
(n)life of the BuddhaSee Also:history of the BuddhaExample:ภาพเหล่านั้นแสดงถึงเหตุการณ์ในพระพุทธประวัติ ครั้งพระพุทธเจ้ายังทรงดำรงพระชนย์ชีพอยู่Thai Definition:ประวัติของพระพุทธเจ้า
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(ข้าพฺระพุดทะเจ้า) ส. คำใช้แทนตัวผู้พูด กราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์ หรือกราบบังคมทูล กราบทูลเจ้านายชั้นสูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
ก. อ้างพุทธพจน์ผิด ๆ ถูก ๆ.
น. นํ้าที่เข้าพิธีทางพระพุทธศาสนาเพื่อให้อาบ กิน หรือ ประพรมเป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล, น้ำมนต์ ก็เรียก.
ก. ตื่นจากหลับ คือมีสติ
รู้ทั่ว.
(ปัดเจกกะ-) น. ชื่อพระพุทธเจ้าพวกหนึ่งที่ตรัสรู้เฉพาะตัว มิได้สั่งสอนผู้อื่น.
น. คำเรียกพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา, ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อพระเจ้าแผ่นดิน เช่น พระพุทธเจ้าเสือ.
น. คำเรียกพระมหากษัตริย์ที่เสด็จสวรรคตแล้ว, คำเต็มว่า สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.
น. คำเรียกพระมหากษัตริย์.
ส. คำเรียกพระพุทธเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.
(พุด, พุดทะ-) น. ผู้ตรัสรู้, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้เบิกบานแล้ว, ใช้เฉพาะเป็นพระนามของพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา เรียกเป็นสามัญว่า พระพุทธเจ้า.
น. สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่, พุทธสมัย ก็ใช้, (ปาก) ช่วงระยะเวลาที่เชื่อกันว่าหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระพุทธศาสนาจะดำรงอยู่ ๕, ๐๐๐ ปี.
น. คุณของพระพุทธเจ้าอย่างย่อที่สุด มี ๓ ประการ คือ พระบริสุทธิคุณ พระปัญญาคุณ พระกรุณาคุณ.
น. อำนาจปกครองคณะสงฆ์ทางพระพุทธศาสนา, คู่กับ อาณาจักร ซึ่งหมายความว่า อำนาจปกครองทางบ้านเมือง.
น. เจดีย์ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า มี ๔ ชนิด คือ ธาตุเจดีย์ บริโภคเจดีย์ ธรรมเจดีย์ และอุเทสิกเจดีย์.
น. ถ้อยคำของพระพุทธเจ้า
ถ้อยคำของสมเด็จพระสังฆราช.
(-ตันตฺระ) น. นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซึ่งเกิดขึ้นจากการนำหลักพิธีกรรมของฮินดูตันตระมาผสมกับหลักปรัชญาปารมิตาของนิกายมาธยมิกะหรือศูนยวาท.
น. รูปเปรียบหรือรูปแทนองค์พระพุทธเจ้า คือ พระพุทธรูป, มักใช้ย่อเป็น ปฏิมา หรือ ปฏิมากร.
(-มามะกะ) น. ผู้ประกาศตนว่าพระพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของตน, ผู้ประกาศตนว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา.
(-สักกะหฺราด) น. ปีนับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานมา.
(-สาสะนิกกะชน, -สาดสะนิกกะชน) น. ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา.
น. สมัยเมื่อพระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่.
ส. หมายถึงองค์พระพุทธเจ้า ใช้ว่า พระพุทธ-องค์.
น. หน่อพระพุทธเจ้า คือผู้ที่จะได้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า.
น. ช่วงเวลาที่โลกว่างพระพุทธศาสนา คือ ช่วงเวลาที่ศาสนาของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งสูญสิ้นแล้ว และพระพุทธเจ้าพระองค์ใหม่ยังไม่อุบัติ.
น. ชื่อพิธีในการปลุกเสกพระพุทธรูปหรือวัตถุมงคล โดยมีพระเถระผู้เชี่ยวชาญในการทำสมาธิจำนวนหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า คณะปรก นั่งภาวนาส่งกระแสจิตเพ่งคุณพระรัตนตรัยเข้าไปสู่องค์พระหรือวัตถุมงคลนั้น ๆ.
น. ส่วนหนึ่งของวัดประกอบด้วย โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ซึ่งใช้เป็นที่ประกอบสังฆกรรม โดยมีกำแพงกันไว้ต่างหากจากส่วนที่พระภิกษุสามเณรอยู่อาศัย ซึ่งเรียกว่า สังฆาวาส, วัดที่สร้างขึ้นเป็นที่ประกอบสังฆกรรมโดยเฉพาะ โดยไม่มีสังฆาวาส เช่น วัดพระศรีรัตน-ศาสดาราม (วัดพระแก้ว).
(พุดทุบบาดทะกาน) น. ช่วงเวลาที่มีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก.
(พุดทะ-) น. ชื่อไม้เถาชนิด Jasminum auriculatum Vahl ในวงศ์ Oleaceae ดอกสีขาวกลิ่นหอม, บุหงาประหงัน ก็เรียก.
(พุดทะ-) น. ชื่อไม้ล้มลุกมีเหง้าหลายชนิดในสกุล Canna วงศ์ Cannaceae ขึ้นเป็นกอ ดอกสีต่าง ๆ.
ดู พุทธ, พุทธ-, พุทธะ.
ดู พุทธ, พุทธ-, พุทธะ.
ดู พุทธ, พุทธ-, พุทธะ.
ดู พุทธ, พุทธ-, พุทธะ.
น. ปัญญา, ความฉลาด.
น. การศึกษาที่เน้นในเรื่องการสอนให้เกิดความรู้ความคิดอย่างมีเหตุผล.
ดู พุทธ, พุทธ-, พุทธะ.
น. พระนามพระพุทธเจ้าผู้มีเชื้อสายศากยวงศ์.
น. ผู้รู้พร้อม, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้สว่างแล้ว
พระนามพระพุทธเจ้า.
ว. กอบด้วยปัญญาอันสูง.
น. ประมวลกฎหมายโบราณของไทยซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ชำระและปรับปรุงแก้ไขตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ เมื่อทำเสร็จแล้วได้ประทับดวงตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว ไว้เป็นสำคัญ จึงเรียกว่า กฎหมายตราสามดวง.
(กะถิน, กะถินนะ-) น. ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร
(กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค).
(กัน-) ก. ร้องไห้ เช่น สมเด็จพระบรม-บพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว ทราบแล้วทรงพระกรรแสง (ประชุมพงศ. ๖๔).
ดอกไม้ประดิษฐ์เป็นรูปกระแตเกาะติดกับช่อใบแก้ว ทำด้วยดอกพุทธชาดเป็นต้น ใช้เป็นของชำร่วย.
(กฺรุ) น. ห้องที่ทำไว้ใต้ดิน ใต้พระเจดีย์ เป็นต้น สำหรับเก็บพระพุทธรูปและสิ่งมีค่าอื่น ๆ, โดยปริยายหมายถึงกระทรวง ทบวง กรม ที่ข้าราชการในสังกัดถูกเรียกตัวเข้ามาอยู่ประจำ โดยมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ใด ๆ เพื่อเป็นการลงโทษหรือก่อนเกษียณอายุราชการ ในความว่า เรียกเก็บเข้ากรุ.
น. กลดชนิดหนึ่ง ทำด้วยผ้าขาวหรือแพรขาวเขียนลายทอง สำหรับใช้กับเจ้านายหรือพระพุทธรูป.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
รั้วพุทธสถาน[ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พุทธิปัญญานิยม[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
ปัญญา, พุทธิปัญญา[ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
หลักทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม[เทคโนโลยีการศึกษา]
ด้านพุทธิปัญญา[เทคโนโลยีการศึกษา]
พานพุ่มดอกไม้ ธูป เทียน ที่ใช้บูชาพระพุทธรูปในพระราชพิธี[ศัพท์พระราชพิธี]
เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา)[ศัพท์พระราชพิธี]
คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า[ศัพท์พระราชพิธี]
ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธี หรือประดิษฐานปูชนียวัตถุเช่นพระพุทธรูป เป็นต้น มณฑปขนาดเล็กแต่ด้านข้างโปร่ง[ศัพท์พระราชพิธี]
[ ปฺระดิดสะถาน ] ก. ตั้งไว้ (ใช้แก่สิ่งที่เคารพนับถือ) เช่น นําพระพุทธรูปไปประดิษฐานไว้ในโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา, แต่งตั้งไว้ในตําแหน่งสูง เช่น ประดิษฐานไว้ในตําแหน่งอัครมเหสี[ศัพท์พระราชพิธี]
เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย[ศัพท์พระราชพิธี]
น. สะดือ, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระนาภี, เช่น พระพุทธรูปส่วนสูงวัดจากพระบาทถึงพระนาภี, ท้อง เช่น ประชวรพระนาภี; ดุมเกวียน, ดุมรถ; ศูนย์กลาง[ศัพท์พระราชพิธี]
โยคาจาระ (พุทธศาสนา)[TU Subject Heading]
งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ.[TU Subject Heading]
แท่นบูชาทางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
เครื่องราง (พุทธศาสนา)[TU Subject Heading]
สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
ศิลปวัตถุพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
ศิลปะพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
ศิลปะพุทธศาสนาลัทธิตันตระ[TU Subject Heading]
ศิลปกรรมพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
พุทธ (แนวคิด)[TU Subject Heading]
พุทธวงศ์[TU Subject Heading]
พุทธศาสนา[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับศิลปะ[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับวัฒนธรรม[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับการศึกษา[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับมนุษยนิยม[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับกฎหมาย[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับวรรณกรรม[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับปรัชญา[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับการเมือง[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับรัฐ[TU Subject Heading]
พุทธศาสนากับศิลปกรรม[TU Subject Heading]
พุทธศาสนาในวรรณกรรม[TU Subject Heading]
นิทานคติธรรมทางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
ศิลปะและสัญลักษณ์ทางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
โหราศาสตร์เชิงพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
นักประพันธ์ชาวพุทธ[TU Subject Heading]
เพลงสวดทางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
เด็กพุทธ[TU Subject Heading]
ผู้เปลี่ยนเป็นศาสนาพุทธจากศาสนาคริสต์[TU Subject Heading]
จักรวาลวิทยาพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
การศึกษาพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
การศึกษาพุทธศาสนาของเด็ก[TU Subject Heading]
พุทธจริยธรรม[TU Subject Heading]
มารยาททางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
การให้ในพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
อิทธิพลพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
การตีความทางพุทธศาสนา[TU Subject Heading]
พุทธศาสนิกชน[TU Subject Heading]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[baēp lø Phraphuttharūp] (n, prop) EN: mold for casting images of Buddha
[bøwøn Phutthasatsana] (n, exp) EN: the glorious creed of Buddhism
[chāo Phut] (n) EN: Buddhist  FR: bouddhiste [ m ]
[jaroēn Phraphuthamon] (v, exp) EN: chant prayers  FR: chanter des prières
[keung Phutthakān] (n) EN: half of the Buddhist era
[krāp Phra Phuttha Jao] (v, exp) EN: prostrate oneself to worship Buddha  FR: se prosterner devant le Bouddha
[naptheū sātsanā Phut] (v, exp) FR: pratiquer la religion bouddhiste ; être de confession bouddhiste
[Phra Phut] (n, prop) EN: Lord Buddha  FR: le Bouddha
[Phraphutthajao] (n, prop) EN: Lord Buddha  FR: le Bouddha
[Phraphuthamon] (n) EN: Buddha's mantra ; Buddha's stanza chant
[Phraphuttharūp] (n, exp) EN: image of Buddha ; Statue of Buddha ; Buddha image  FR: image du Bouddha [ f ] ; représentation du Bouddha [ f ]
[Phraphuttharūp Haeng Bāmiyan] (n, prop) EN: Buddhas of Bamyan
[Phraphuttharūp samrit samai] (xp) EN: bronze Buddha image of the Srivichai period
[Phraphutthasātsanā] (n, prop) EN: Buddhism  FR: bouddhisme [ m ]
[Phut] (n, prop) EN: Buddha  FR: Bouddha
[Phutthachāt] (n) EN: Jasmine Vine ; Star Jasmine ; Angel-hair Jasmine
[Phutthajittawitthayā] (n, exp) EN: Buddhist psychology   FR: psychologie bouddhique [ f ]
[Phutthakān] (n) EN: Buddha's lifetime ; Buddha era ; Buddha period
[Phutthapratjā thērawāt] (n, exp) EN: Theravada Buddhist Philosophy
[Phuttharaksā] (n) EN: Indian shot
[Phutthasakkarāt] (n, prop) EN: Buddhist Era  FR: ère bouddhique [ f ]
[Phutthasatsana] (n, prop) EN: Buddhism  FR: bouddhisme [ m ]
[Phutthasatsana nikai Thērawāt] (n, prop) EN: Theravada Buddhism  FR: bouddhisme theravada [ m ]
[Phuttha sātsanikkachon] (adj) EN: buddhist  FR: bouddhiste
[sātsanā Phut] (n, exp) EN: Buddhism  FR: bouddhisme [ m ]
[Somdēt Phra Phuttha Yøtfā] (n, prop) EN: His Majesty King Phra Buddha Yodfa
[phø.sø. (Phutthasakkarāt)] FR: ère bouddhique
Longdo Approved EN-TH
(n)เมตตา (จากหลักศาสนาพุทธ)
(n)สันโดษ (ความหมายทางศาสนาพุทธ)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)พระพุทธรูปSee Also:ปฏิมา, ปฏิมากร
(n)ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ
(n)พุทธสมาคม
(n)พุทธศตวรรษSee Also:พ.ศ., พุทธศักราช
(n)พุทธภาษิต
(n)พระเจ้า (ในศาสนาพุทธ หรือฮินดู)See Also:เทพเจ้า, เทพ, เทวดาSyn.god, devi, deity
(n)แผ่นทองบางมาก สำหรับปิดทองพระพุทธรูปSee Also:ทองแผ่น
(n)นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชาSee Also:ชื่อนิกายในพระพุทธศาสนาฝ่ายใต้ที่นับถือกันในศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชาและกัมพูชา, ชื่
(n)พระพุทธรูป
(n)ศาสนาพุทธในธิเบตและมองโกเลีย (เป็นนิกายมหายาน)
(n)นิกายมหายานในศาสนาพุทธ
(n)นิกายเซนในพุทธศาสนา
Hope Dictionary
(บอนซ) n. พระจีนหรือพระญี่ปุ่น (พุทธศาสนา)
(บูด'ดะ) พระพุทธเจ้า.
(บูด'ดิซึม) n. ศาสนาพุทธ.See Also:buddhist n. ชาวพุทธ buddhistic adj. เกี่ยวกับศาสนาพุทธ.
(บุท'ชุ) n. พระพุทธเจ้า
n. พระพุทธเจ้าSyn.Buddha
n. พระพุทธเจ้าSyn.Buddha
n. พระพุทธเจ้าSyn.Buddha
(ฮีนะยา'นะ) n. นิกายหินยานของพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา พม่า ไทยและกัมพูชาSyn.Theravada. -Hinayanist n.
(จอส) n. พระพุทธรูปของจีน, รูปปั้นบูชาจีน
(มาหะยา'นะ) n. นิกายมหายานของศาสนาพุทธ.See Also:mahayanist n. -Conf. Hinayana
(เซน) n. พุทธศาสนานิกายเซน เน้นการรู้แจ้งโดยวิธีตรงและการนั่งวิปัสสนา.See Also:Zenic adj. Zenist n.
Nontri Dictionary
(n)พระพุทธเจ้า, สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระพุทธองค์
(n)พุทธศาสนา, ศาสนาพุทธ
(n)พุทธศาสนิกชน, ชาวพุทธ, พุทธมามกะ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิถีพุทธ
(n)จังกีพราหมณ์ ในพุทธประวัติ ครอบครองหมู่บ้านพราหมณ์ชื่อโอปาสาทะ ซึ่งพระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชทานให้ครอบครอง
[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต](n)ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต](n)ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต](n)ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต](n)ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
(n)ประโยชน์เพื่อคนอื่น, ประโยชน์ผู้อื่น มาจากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า 152
Longdo Approved JP-TH
[ぶっきょう, bukkyou](n)พระพุทธศาสนา
[ぶつれき, butsureki](n)พุทธศักราช
[てら, tera](n)วัดของศาสนาพุทธ
[じんいん, jin'in](n)วัด(ในพุทธศาสนา)
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
法華経
[ほけきょう, hokekyou](n)สัทธรรมปุณฑรีกสูตร The Lotus Sutra คัมภีร์ของพุทธศาสนานิกายมหายาน มี 28 บท
仏壇
[ぶつだん, butsudan](n)แท่นบูชาแบบพุทธตามบ้านญี่ปุ่น
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, nur Sg.| ศาสนาพุทธ
(vt)|prägte, hat geprägt| มีอิทธิพลอย่างมาก เช่น Die Menschen und das Leben in Thailand sind stark vom Bhuddismus geprägt. ผู้คนและชีวิตในเมืองไทยได้รับอิทธิพลอย่างมากจากศาสนาพุทธSyn.beeinflussen
(n)|die, pl. Ordinationen| การบวชเป็นพระทางศาสนาพุทธ เช่น Er konnte erst mit zwanzig Jahren die volle Ordination empfangen.See Also:die Priesterweihe, die Primiz
(n)|der, nur Sg.| พระพุทธเจ้า
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ