แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
230 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*พลเมือง*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: พลเมือง, -พลเมือง-
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)populationSee Also:citizen, inhabitant, peopleSyn.ประชากร, พสกนิกร, ชาวเมือง, ราษฎรExample:อินเดีย ประเทศที่มีพลเมืองมากเป็นอันดับ 2 ของโลกกำลังเข้าสู่เทศกาลเลือกตั้งUnit:คนThai Definition:ชาวประเทศ
(n)peopleSee Also:inhabitants, residents, populace, mass, citizen, crowdSyn.พลเมือง, สามัญชน, พสกนิกร, ราษฎร, ประชากร, มวลชน, หมู่ชน, ฝูงชน, ประชาชนExample:เมืองชัยภูมิมีความสงบประชาชนพลเมืองเป็นคนเรียบร้อยUnit:คน, กลุ่ม, พวกThai Definition:ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ
(n)civic dutySyn.หน้าที่พลเมืองExample:เด็กๆ ควรจะได้รับการดูแลอบรมรวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้เข้าใจถึงหน้าที่ของพลเมืองเป็นอย่างดี
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
(พนละ-) น. ประชาชน, ราษฎร, ชาวประเทศ.
น. พลเมือง, ประชาชน, ราษฎรที่อาศัยในแผ่นดิน.
ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ
(ตฺระหฺลบ) ก. ตลบ, เขียนเป็น ตรหลบ หรือ ตระหลบ ก็มี เช่น สองก้ำกึ่งกันทานทบ แผลงศรตรหลบ ตรเลิดพันลึกนิดินบน (อนิรุทธ์), ไพร่พลเมืองนาวนาว นฤนาท แตรตระหลบก้องหล้า ส่งสยง (ยวนพ่าย), เถิดฤๅจะรื้อรบ ตระหลบวิ่งเข้าชิงแดน ฟันเสียให้นับแสน ให้เศียรขาดลงดาดดิน (พากย์นางลอย).
น. บัญชีจดลักษณะจำนวนคน จำนวนสัตว์ หรือจำนวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง.
ก. อพยพครอบครัว, กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากถิ่นฐานเดิมไปไว้ที่อื่น, เช่น ในปีเดียวนั้นให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวงลงมายังกรุงพระนครศรีอยุทธยา (พงศ. ประเสริฐ)
น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น.
น. หมู่คน, หมู่พลเมือง (เกี่ยวกับจำนวน).
น. พลเมือง, สามัญชนทั่ว ๆ ไปที่ไม่ใช่ข้าราชการ พ่อค้า หรือนักบวช ในความว่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน.
น. ประเทศรวมทั้งประชาชน, ประชาชนที่เป็นพลเมืองของประเทศ, ชาติ ก็ว่า.
การปกครองพลเมืองในท้องถิ่น.
น. ผู้ปกครองพลเมือง
น. พลเมือง
น. พลเมือง, ราษฎร.
(พนละ-) น. ชาวโลก, พลเมืองของโลก.
(พะสก, พะสกกะ-) น. ชาวเมือง, พลเมือง.
(พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน) น. คนที่อยู่ในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม.
(ไพฺร่) น. พลเมือง, ประชาชน, ราษฎรสามัญ.
น. ราษฎร, ประชาชน, พลเมืองของพระเจ้าอยู่หัว.
ก. ทำหน้าที่สนองคุณบ้านเมืองในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศ.
(ราดสะดอน, ราด) น. พลเมืองของประเทศ.
น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติและความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น.
น. ชายฉกรรจ์, พลเมืองชั้นสามัญ, เขียนเป็น เลข ก็มี.
ก. ทำให้เกิดมีขึ้นและเพิ่มพูนให้มากยิ่งขึ้น เช่น การศึกษาสร้างเสริมคนให้เป็นพลเมืองดี.
(สังคมมะ-, สังคม-) น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม.
สถานะตามกฎหมายของบุคคลที่แสดงว่าเป็นพลเมืองหรือคนในบังคับของประเทศใดประเทศหนึ่ง.
น. ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ.
(สาระ-) น. ทะเบียนรายชื่อไพร่บ้านพลเมือง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทะเบียนหางว่าว, ทะเบียนสัตว์ ได้แก่ ช้าง ม้า โค กระบือ, ทะเบียนไร่นา, ทะเบียนบ้านเรือน.
น. สิทธิพิเศษที่จะใช้กฎหมายของประเทศหนึ่งบังคับแก่บุคคลที่เป็นพลเมืองของตนที่ไปอยู่ในดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง.
ชื่อกรมมีหน้าที่จัดทำสารบาญชีไพร่บ้านพลเมือง และจัดสรรไพร่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนไปทำราชการตามกรมกองต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี.
น. หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่ง ออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อเป็นหลักฐานในการเดินทางไปต่างประเทศ.
น. พลเมืองที่อยู่ในอำนาจปกครอง.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
เสรีภาพของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สิทธิของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การกำหนดจำนวนผู้แทนตามส่วนของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. กฎหมายเอกชน๒. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล [ ดู private international law ]๓. กฎหมายที่ใช้บังคับพลเมืองชาวโรมัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
บัญญัติว่าด้วยสิทธิพื้นฐานของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การช่วยเหลือพลเมืองโดยทหาร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
วิชาหน้าที่พลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
วิชาหน้าที่พลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. แพ่ง๒. พลเรือน๓. เกี่ยวกับพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. แพ่ง (ก. แพ่ง)๒. พลเรือน, เกี่ยวกับพลเมือง (ก. ปกครอง)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สถานภาพพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สถานภาพพลเมือง[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
สิทธิของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
สิทธิของพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พลเมือง[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
เสรีภาพของพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เสรีภาพของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เกี่ยวกับพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เกี่ยวกับพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การช่วยเหลือพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การช่วยเหลือพลเมืองโดยทหาร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
วัฒนธรรมพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
หน้าที่ของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
หน้าที่ของพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมืองโดยกำเนิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความเป็นพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความเป็นพลเมือง[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ความเป็นพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ความเป็นพลเมืองสองประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การขาดความสามารถตามกฎหมาย๒. การขาดคุณสมบัติของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดความสามารถตามกฎหมาย, การขาดคุณสมบัติของพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
วัฒนธรรมพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การขาดความสามารถตามกฎหมาย๒. การขาดคุณสมบัติของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การขาดความสามารถตามกฎหมาย, การขาดคุณสมบัติของพลเมือง[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
หน้าที่ของพลเมือง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
ความเป็นพลเมืองสองประเทศ [ ดู double nationality และ dual nationality ประกอบ ][รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. ให้สิทธิเลือกตั้ง (แก่พลเมือง) (ก. ปกครอง)๒. ให้สิทธิมีผู้แทน (แก่ท้องถิ่น) (ก. ปกครอง)๓. เปลี่ยนสิทธิการเช่าเป็นกรรมสิทธิ์ (ก. อังกฤษ)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมืองโดยกำเนิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พลเมืองโดยกำเนิด[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมืองเครือข่าย[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
พลเมืองเครือข่าย[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
พลเมืองโดยการแปลงสัญชาติ[ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
[ พะสกกะนิกอน, พะสกนิกอน ] คนที่อยู่ในประเทศไม่ว่าจะเป็นพลเมืองของประเทศนั้นหรือคนต่างด้าวที่มาอาศัยอยู่ก็ตาม[ศัพท์พระราชพิธี]
การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน[Assistive Technology]
การแจ้งข้อมูลอาชญากรรมของพลเมือง[TU Subject Heading]
การมีส่วนร่วมของพลเมือง[TU Subject Heading]
หน้าที่พลเมือง[TU Subject Heading]
หน้าที่พลเมืองของสหรัฐอเมริกา[TU Subject Heading]
สิทธิพลเมือง[TU Subject Heading]
สิทธิพลเมืองในการเดินขบวน[TU Subject Heading]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ค.ศ. 1966)[TU Subject Heading]
ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment[การทูต]
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เป็นกลไกติดตามผลการอนุวัติกติการะหว่างประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights : ICCPR)[การทูต]
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540[การทูต]
คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม[การทูต]
คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว[การทูต]
มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ[การทูต]
งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เธอเปรียบเทียบชนชั้นกลาง แรงโบด์เกลียด พลเมืองฝรั่งเศสในปัจจุบัน ผู้... "ไม่แยแสWild Reeds (1994)
ผมเป็นพลเมืองดีHeat (1995)
ฮิวเบนนี่ปรับปรุงชีวิตเขาใหม่ กลายเป็นพลเมืองดีกับเขาขึ้นมาHeat (1995)
พลเมืองยิวจะถูกเนรเทศออกไป คงอยู่แต่ชาว อารยันThe Great Dictator (1940)
พลเมืองฉันหมายคว- ามว่าสหายเบรกขึ้น!Idemo dalje (1982)
ไม่มีพลเมืองรัสเซียได้รับ อนุญาตให้อยู่ใน หรือได้รับอนุญาตที่จะเข้า สู่ดิสคัเฟอรี2010: The Year We Make Contact (1984)
ไม่ได้มีแต่พวกเราเท่านั้นที่จะเปลี่ยนมัน แต่บางที พลเมืองพวกนั้นหวังว่าจะพบกับอากิระจริงๆAkira (1988)
เขาเป็นผู้บุกเบิกเรื่องสิทธิของพลเมือง และการต่อต้านสงครามField of Dreams (1989)
'พลเมืองที่หวังพึ่งตำรวจไม่ได้' 'ทำตัวเป็นมือกฎหมายซะเอง'.Night of the Living Dead (1990)
พลเมืองปารีสจงฟังข้า...The Man in the Iron Mask (1998)
ฉันเป็นพลเมืองอเมริกัน ฉันขอโทรไปสถานฑูตได้ไหม?Brokedown Palace (1999)
เรื่องของคุณคือการช่วยเหลือพลเมืองอเมริกันBrokedown Palace (1999)
ศาลที่เคารพ พลเมืองแห่งคาศเตลคูโต้ตอบว่าMalèna (2000)
มีการเตือนพลเมืองในภูมิภาคเหล่านั้นว่า...Malèna (2000)
พลเมืองทุกคนต้องผ่าน เครื่องตรวจโรคResident Evil: Apocalypse (2004)
แล้วนายเป็นพลเมืองดีที่จะช่วยเหลือใช่ไม๊?Ice Age (2002)
แนะนำให้พลเมืองว่า ถ้าพบเห็น... ปีศาจอัจฉริยะที่มีกงเล็บ ห้ามเข้าใกล้Inspector Gadget 2 (2003)
ดู มันเซ็นว่า "พลเมืองคนหนึ่งที่ห่วงใย"Inspector Gadget 2 (2003)
ดีที่ได้รู้ว่าเรายังมีพลเมืองที่ห่วงใย...Inspector Gadget 2 (2003)
และดูลื่นไหลไปกับพลังแห่งเยาว์วัย ในคราวเดียวกัน เหมือนกับความภาคภูมิใจในฐานะพลเมือง มันไหลซึมออกมาด้วยอารมณ์หลงไหลHope Springs (2003)
ปัญหาใหญ่ของการมีบรรษัทเป็นพลเมือง (โรเบิร์ต มังคส์ ที่ปรึกษาด้านบรรษัทภิบาล) ก็คือบรรษัทไม่เหมือนพวกเราThe Corporation (2003)
มีคนกลุ่มหนึ่งที่หมายมั่นปั้นมือว่าสักวันหนึ่ง (มอด บาร์โลว์ ประธานสภาพลเมืองแคนาดา) ทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องมีใครคนใดคนหนึ่งเป็นเจ้าของ นี่ไม่ได้หมายความแค่ข้าวของสินค้าThe Corporation (2003)
พวกเขาคิดว่า ตนเองคือเสียงเดียวที่พูดแทน พลเมือง 800 ล้านคนของทวีปอเมริกา xxxx ยินดีที่ได้พบคุณThe Corporation (2003)
พลเมืองทั้งหมดอยู่ กระตุ้นให้เข้าร่วมประชุม ... ที่จะจัดขึ้น ในโรงยิมโรงเรียนมัธยม ...Dante's Peak (1997)
ทำให้บริษัทอัมเบลล่าเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง กับการตายของพลเมืองที่ไร้เดียงสาResident Evil: Apocalypse (2004)
ฉันเป็นพลเมืองอเมริกันCrash (2004)
ผมบอกคุณแล้ว, รถไฟสำหรับ พลเมืองยังไม่เปิดใช้บริการTae Guk Gi: The Brotherhood of War (2004)
ฟังทางนี้ พลเมืองราวันดา ข่าวร้ายHotel Rwanda (2004)
ผมไม่ได้เป็นขโมย ผมเป็นพลเมืองดีนะ!Windstruck (2004)
เขต 117 มีพลเมืองถูกยิง ที่โรงงานด้านหลังสวนสาธารณะ อีเวนนิ่ง สตาร์ พาร์คWindstruck (2004)
ฉันทำหน้าที่พลเมืองดีแล้ว \แต่ฉันไม่สามารถจะดูแลเค้าได้หรอกCrusade (2004)
ฉันพูดว่า พวกเราแค่ถามโบโซสเหล่านี้ ถึงที่ของพลเมืองอยู่อาศัยMadagascar (2005)
ขออภัย, พวกเราโบโซสมีพลเมืองอย่างแน่นอนMadagascar (2005)
เฮ้ โบโซส มีพลเมืองด้วยเหรอ!Madagascar (2005)
แล้วนั่นใครน่ะ ต้องเป็นพลเมืองตัวอย่างอีกคนแน่Four Brothers (2005)
ขอบคุณทุกคนที่ช่วยนะ พวกคุณเป็นพลเมืองที่แสนดีจริงๆFour Brothers (2005)
มีพลเมืองที่ให้คำมั่นสัญญาว่าจะอยู่อย่างสันติตลอดกาล และมีกองทัพที่สาบานจะนำความรุ่งโรจน์มามอบให้Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005)
พลเมืองที่เป็นเพื่อนคุณทุกคนตระหนักถึง ประวัติศาสตร์ความภาคภูมิใจของเมืองของเราCars (2006)
นั่นคือกฏหมาย และไม่มีสปาร์เทินใด ไพร่ฟ้าหรือพลเมือง300 (2006)
สิ่งใดพึงกระทำหรือ? นี่มิใช่คำถามต่อพลเมืองสปาร์เทิน มิใช่ต่อสามี มิใช่ต่อราชัน300 (2006)
สปาร์เทิน พลเมืองผู้กล้า, ทาสที่เป็นไท กรีกผู้ห้าวหาญทั้งมวล300 (2006)
ผมเป็นพลเมืองรัฐที่เสียภาษีAlpha Dog (2006)
ผู้ชายเป็นอะไร? พลเมืองชั้น2เหรอThe Wicker Man (2006)
ผมเป็นพลเมืองอเมริกัน และผมรักประเทศของผมRescue Dawn (2006)
เงียบ ๆ หน่อย แต่เป็นพลเมืองสหรัฐแล้วตอนนี้Rescue Dawn (2006)
เขาเป็นพลเมืองเพียงคนเดียว ที่สร้างจรวดของเขาขึ้นเอง... ...ไปโคจรรอบโลก แล้วกลับมาอย่างปลอดภัยThe Astronaut Farmer (2006)
ที่ไหนซักแห่ง ที่พวกราจะไม่ถูกหลอก แล้วก็เริ่มเป็นพลเมืองManhunt (2006)
ฟังนะ นายสองคนเป็นพลเมืองอเมริกาThe Sweet Taste of Liberty (2005)
อย่าให้พวกเขาใช้เรื่องพลเมืองดีอะไรนั่นThe Sweet Taste of Liberty (2005)
ผมแค่ทำหน้าที่พลเมืองเกาหลีเท่านั้นล่ะครับ.Sassy Girl, Chun-hyang (2005)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[kān phoēmkheun khøng phonlameūang] (n, exp) EN: population growth
[Khrōngkān Sāng Samneuk Phonlameūang] (x) EN: Project Citizen
[nāthī khøng phonlameūang] (n, exp) EN: civic duty
[nāthī phonlameūang] (n, exp) EN: civic duty
[phonlameūang] (n) EN: citizen ; inhabitant ; civilian ; dweller ; people ; population  FR: citoyen [ m ] ; civil [ m ] ; population [ f ]
[phonlameūang dī] (n, exp) EN: good citizen
[phonlameūang dōi kamnoēt] (n, exp) EN: natural-born citizen  FR: citoyen de naissance [ m ]
[sitthi khøng phonlameūang] (n, exp) EN: civil right
[sitthi phonlameūang] (n, exp) EN: civil rights
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ประชาชนSee Also:พลเมืองSyn.inhabitant, denizen, national
(n)กลุ่มพลเมืองSyn.population, inhabitants, people
(n)ความเป็นพลเมือง
(n)สิทธิในความเป็นพลเมือง
(n)พลเมืองทั้งหมด
(n)วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของพลเมือง
(adj)ที่เกี่ยวกับพลเมือง
(vt)ทำให้ขาดสิทธิในการเป็นพลเมือง
(n)การลดจำนวนประชากรSee Also:การลดจำนวนพลเมืองSyn.dispeoplement
(n)พลเมืองของอิทรูเรียโบราณSee Also:ประชาชนชาวอีทรูเรียโบราณ
(n)คนในประเทศSee Also:พลเมือง, ประชาชนSyn.nationalityAnt.alien, foreigner
(n)พลเมืองที่อาศัยอยู่ในเขตศาสนาSyn.layman, countryman, countrywoman
(adj)เกี่ยวกับพลเมือง
(n)ประชาชนSee Also:พลเมืองSyn.masses, multitude, people, population
(adj)ซึ่งมีพลเมืองหนาแน่นSee Also:ซึ่งเต็มไปด้วยผู้คนSyn.crowded, peopled, populated
Hope Dictionary
(แอสซะมีซ') adj., n. (pl. -mese) เกี่ยวกับรัฐอัสสัม (พลเมือง, ภาษาและอื่น ๆ) . -n. ชาวอัสสัม, ภาษาอัสสัม
n. พระราชบัญญัติลัทธิและเสรีภาพของพลเมือง
n. ประชากร, พลเมือง, ผู้อยู่อาศัย
(ซิท'ทิเซิน) n. พลเมือง, ชาวเมือง, ประชากรSee Also:citizenly adj.
(ซิฟ'วิค) adj. (เกี่ยวกับ) เมือง (นคร, กรุง) , เทศบาล, สัญชาติ, พลเรือน (พลเมือง, ประชากร) , ที่เป็นประโยชน์แก่เมือง
(ซิฟ'วิคซฺ) n. วิชาหน้าที่พลเมือง
(ซิฟ'เวิล) adj. เกี่ยวกับพลเรือน (พลเมือง, ประชากร) อย่างพลเมืองที่ดี, เกี่ยวกับคดีแพ่ง, มีอารยธรรม, มีมารยาท, ไม่เกี่ยวกับศาสนา
n. สิทธิที่เท่ากันของพลเมืองSee Also:civil-rights adj. ดูcivil rights
(ซิฟ'วิสซีม) n. การเป็นพลเมืองที่ดี
(คอซมะพอล'ลิเทิน) adj. เกี่ยวกับโลกทั้งหมด, เกี่ยวกับสากลนิยม, ซึ่งมีอยู่ทั่วโลกหรือทุกหนทุกแห่ง, ซึ่งประกอบด้วยหลายชาติหลายภาษา, ซึ่งไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, เกี่ยวกับพลเมืองโลก n. ผู้ที่ไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัดSee Also:cosmopo
(ดี'มอส) n. ประชาชน, สามัญชน, พลเมือง
n. ผู้อาศัย, ผู้พำนัก, ชาวต่างด้าวที่ได้รับสิทธิบางอย่างของพลเมือง, สัตว์หรือพืชที่ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่Syn.inhabitantAnt.outsider
(ดิสแฟรน'ไชซ) ว vt. ถอนสิทธิ, ตัดสิทธิ, ถอนสิทธิพลเมือง, ถอนสิทธิการเลือกตั้งSee Also:disfranchisement n. ดูdisfranchise
(อิน' ซิวิซึม) n. ความไม่รักชาติ, ความบกพร่องในหน้าที่ของพลเมือง
(อิน'ฟะมัส) adj. ชื่อเหม็นที่สุด, เลวทราม, น่าเกลียดชัง, แย่มาก, ซึ่งสูญเสียสิทธิพลเมืองบางอย่างSee Also:infamousness n. infamousSyn.heinous, wicked
(อินแฮบ'บิเทินซี, อินแฮบ'บิเทินซฺ) n. สถานที่อยู่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, การอยู่อาศัยinhabitant (อินแฮบ'บิเทินทฺ) n. ผู้อยู่อาศัย, สัตว์ที่อยู่อาศัย, ผู้อาศัย, พลเมือง.See Also:inhabiter n.Syn.resident
(อินแฮบ'บิเทินซี, อินแฮบ'บิเทินซฺ) n. สถานที่อยู่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, การอยู่อาศัยinhabitant (อินแฮบ'บิเทินทฺ) n. ผู้อยู่อาศัย, สัตว์ที่อยู่อาศัย, ผู้อาศัย, พลเมือง.See Also:inhabiter n.Syn.resident
(แนช'เชินเนิล) adj. แห่งชาติ, ชาตินิยม, ทั่วทั้งชาติ. n. พลเมืองของชาติหนึ่ง.
หัวหน้าครอบครัว (มักเป็นบิดา) , เจ้าบ้าน, หัวหน้าครอบครัวชาวโรมันคาทอลิก, พลเมืองชายที่อิสระSee Also:paterfamiliar adj.
(พี'เพิล) n. คน, ประชาชน, ประชากร, พลเมือง, ราษฎร, มนุษย์.Syn.population, folk, human, humanity
(เพอแคพ'พิทะ) n. ต่อคน, ต่อพลเมือง1คน
(พอพพิวเล'เชิน) n. ประชากร, พลเมือง, จำนวนประชากร, กลุ่มพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณหนึ่ง, การนำผู้คนเข้าไปตั้งรกราก, จำนวนทั้งหมด.Syn.inhabitants
(โพรสไครบ') vt. ประณาม, ห้าม, เนรเทศ, ไล่ออกไป, เพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง.See Also:proscriber n. denounce, condemn
(โพรสคริพ'เชิน) n. การประณาม, การห้าม, การเนรเทศ, การไล่ออกไป, การเพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง.See Also:proscriptive adj.
(ไรทซฺ) n. สิทธิ, สิทธิโดยชอบธรรม, สิทธิของพลเมือง adj. มีสิทธิ, มีสิทธิโดยชอบธรรมของพลเมืองSyn.civil rights
(อันพี'เพิล) vt. เอาคนออก, ปลดคนออก, ย้ายคนออก, กำจัดพลเมือง
Nontri Dictionary
(n)ชาวเมือง, พลเมือง, ประชาชน
(n)ประชากร, ชาวเมือง, พลเมือง, ประชาชน, คนในบังคับ
(n)การเป็นพลเมือง, สิทธิของประชากร, สัญชาติ
(adj)เกี่ยวกับพลเมือง, เกี่ยวกับเมือง, ของจังหวัด, ของเทศบาล
(n)วิชาหน้าที่พลเมือง
(adj)เกี่ยวกับพลเมือง, ในฐานะพลเมือง, ของพลเมือง, สุภาพ
(n)ความเป็นพลเมืองดี, ความสุภาพ, ความมีมารยาท, ความมีอัธยาศัยไมตรี
(n)พลเมืองโลก, ความเป็นสากล
(n)พลเมือง, ผู้พักพิง, ผู้อยู่อาศัย,  ผู้พำนัก
(n)ผู้คน, พ่อบ้าน, พลเมือง, ประชาชน
(n)ประชากร, พลเมือง, ชาวบ้าน, ผู้อาศัย
(n)ประชาชาติ, ประชาชน, พลเมือง
(n)ประชาชน, ราษฎร, ครอบครัว, พลเมือง, พสกนิกร, คน
(n)ประชาชน, พลเมือง, ประชากร, ราษฎร, พสกนิกร
(n)พลเมือง, ประชากร, ประชาชน, จำนวนประชากร
(adj)มีประชากรหนาแน่น, มีพลเมืองมาก, เต็มไปด้วยผู้คน
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)พลเมืองในอาณานิคม
พลเมืองกิตติมศักดิ์
(n, jargon, abbrev, uniq)กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, pl. Bürger| พลเมืองSee Also:die Bürgerin
(n)|der, pl. Staatsbürger| พลเมือง, ประชาชน เช่น Seit kurzem bietet auch die Lufthansa sehr attraktive Ethnik Spezial Tarife für thailändische Staatsbürger mit ihren Ehepartnern und Kindern an.See Also:die Staatsbürgerin
Longdo Approved FR-TH
(n)|m| พลเมืองชาย
(n)|f| พลเมืองหญิง
(n)|f| สถานภาพการเป็นพลเมือง
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ