ก. ติดต่อไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ เช่น นาย ก กับ นาย ข เขาถึงกัน
มีจิตใจสื่อถึง เช่น ๒ คนนี้เขาถึงกัน เกิดอะไรขึ้นกับคนหนึ่ง อีกคนหนึ่งก็รู้สึกได้เหมือนกัน.
(คะมะนาคม, คมมะนาคม) น. การติดต่อไปมาถึงกัน, การสื่อสาร
น. แผ่นดินที่กิ่วคอดและมีน้ำล้อมรอบอยู่ทั้ง ๒ ด้าน ตรงที่กิ่วคอดจะเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่ ๒ แห่ง หรือเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่กับแหลมให้ติดต่อถึงกันได้ เช่น คอคอดกระ.
ก. จ่อให้ถึงกัน, ถึง, จนถึง
น. หนังสือที่มีไปมาถึงกัน.
(จากกะพรฺาก, จากกะพาก) (ทางวรรณคดีนิยมว่า คู่ของนกนี้ต้องพรากจากกันจะครวญถึงกันในเวลากลางคืน), จักรพาก หรือ จักรวาก ก็เรียก.
(ตฺรวน) น. เครื่องจองจำนักโทษชนิดหนึ่ง เป็นห่วงเหล็ก มีโซ่ล่ามถึงกัน ใช้สวมขานักโทษ.
น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telegraph).
น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ติดต่อพูดถึงกันได้ในระยะไกลโดยใช้สายตัวนำโยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telephone), คำว่าโทรศัพท์ที่อยู่หน้าหมายเลขโทรศัพท์มักเขียนย่อว่า โทร. ออกเสียงว่า [ โท ].
น. อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับวัดเวลา ประกอบด้วย กระเปาะแก้ว ๒ กระเปาะที่มีรูเล็ก ๆ ทะลุถึงกัน ข้างในบรรจุทรายที่จะไหลจากกระเปาะหนึ่งไปยังอีกกระเปาะหนึ่งได้หมดพอดีในเวลาที่กำหนดไว้.
ว. เสมอ ๆ เช่น ส่งข่าวถึงกันอยู่เนืองนิตย์.
ก. ติดต่อกัน, เกี่ยวข้องกัน, เช่น เรื่องนี้เนื่องกับเรื่องนั้น เรื่องมันเนื่องถึงกัน.
ก. ให้หรือแจกจ่ายอะไรไม่ทั่วถึงกัน.
ว. เกี่ยวเนื่องกัน, ผูกพันกัน, เกี่ยวโยงพาดพิงถึงกัน, เช่น พันพัวกับคดีทุจริต, พัวพัน ก็ว่า.
ว. เกี่ยวเนื่องกัน, ผูกพันกัน, เกี่ยวโยงพาดพิงถึงกัน, เช่น พัวพันกับคดีทุจริต, พันพัว ก็ว่า.
น. การบรรจบถึงกัน, การเวียนไปบรรจบถึงกัน
คำขึ้นต้นจดหมายหรือที่ใช้ในการจ่าหน้าซองในหนังสือราชการที่เขียนถึงบุคคลทั่วไป หรือจดหมายส่วนตัวที่บุคคลธรรมดาเขียนถึงกันเพื่อแสดงความนับถือ.
เชื่อมถึงกัน เช่น นอกชานแล่นถึงกัน.
น. ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน.
ก. ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนำให้รู้จักกัน.
น. ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนำให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน กุหลาบแดงเป็นสื่อของความรัก, เรียกผู้ที่ทำหน้าที่ชักนำเพื่อให้ชายหญิงได้แต่งงานกัน ว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ