ว. อาการที่พูดห้าวหาญและชัดถ้อยชัดคำ, ฉาดฉาน ก็ใช้.
ว. อาการที่พูดห้าวหาญและชัดถ้อยชัดคำ, ฉะฉาน ก็ใช้.
ส. ฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
ก. แตก, กระจาย, ซ่าน, เช่น แตกฉานซ่านเซ็น.
ว. มีแสงกล้า, มีแสงพุ่งออกไป, สว่าง, กระจ่างแจ้ง, จ้า, เช่น แสงฉาน ปัญญาแตกฉาน
ฉาด เช่น ขวิดควิ้วอยู่ฉาน ๆ (ม. ร่ายยาว กุมาร).
น. ชื่อรัฐหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศพม่า ติดต่อกับทางภาคเหนือของประเทศไทย, ไทใหญ่ ก็เรียก.
(-รัดฉาน) น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย, ใช้ว่า เดรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี.
ส. ดิฉัน, ดีฉัน, เป็นคำที่เจ้านายผู้ชายมักใช้กับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
(-รัดฉาน) น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคำด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี.
(-รัดฉาน) น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคำด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดรัจฉาน ก็มี.
ก. ผ่านหน้าที่ประทับในระยะใกล้.
(-รัด-) น. ดิรัจฉาน, สัตว์เดรัจฉาน.
ว. ชำนิชำนาญ, เชี่ยวชาญ, เช่น มีความรู้แตกฉาน.
น. ธงที่มีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ แต่ตรงกลางของผืนธงมีรูปจักร ๘ แฉก แฉกของจักรเวียนไปทางซ้ายและมีสมอสอดวงจักรภายใต้พระมหามงกุฎ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง เป็นธงที่ใช้ในเรือพระที่นั่งและเรือหลวง หรือเป็นธงสำหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล
ธงนำกระบวนกองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม.
ว. แตกร้าว, แตกร้าวกัน, โกรธเคืองกัน, เช่น การทะเลาะเบาะแว้งทำให้เกิดร้าวฉานกัน.
ว. เรี่ยรายไป, แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน.
ก. แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน.
ว. อ้อมแอ้ม, ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด).
น. ที่เกิดของผู้ที่ยังเกี่ยวด้วยกาม, โลกเป็นที่อยู่อาศัยของผู้เสพกาม ได้แก่ อบายภูมิ ๔ (นรกภูมิ ติรัจฉานภูมิ เปรตวิสัยภูมิ อสุรกายภูมิ) มนุษยโลก ๑ และสวรรค์ ๖ ชั้น (จาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานนรดี ปรนิมมิตวสวัตดี) รวมเป็น ๑๑, กามภูมิ ก็ว่า.
น. ชื่อคนไทใหญ่เผ่าหนึ่ง ส่วนมากอยู่ในแคว้นฉาน ประเทศพม่า
น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยา เช่นการเดินทางระยะไกล ๆ รีบเร่ง สู้รบกัน มีลักษณะ ทำนอง อัตราจังหวะและชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้ เชิดกลอง เชิดฉิ่ง เชิดฉาน เชิดนอก
ก. กระจัดกระจาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ แตกฉาน เป็น แตกฉานซ่านเซ็น.
(ตฺระ-) ว. งาม เช่น ป่าดงพงหลวงตระการ เซราะเซราเขาธาร ชรลัดชรล่องดองไพร (อนิรุทธ์), น้ำพุพุ่งซ่า ไหลฉ่าฉาดฉาน เห็นตระการ (สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย เพลงเถา)
จัดไว้เสร็จ, จัดไว้พร้อม, เช่น เตรียบตั้งต่อฉาน (ตะเลงพ่าย).
น. ชื่อเรียกชนชาติไทสาขาหนึ่งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า, เรียกกันว่า เงี้ยว, ไทหลวง ก็ว่า.
น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
(ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
น. ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน, มี ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
(เปฺรื่อง) ก. เชี่ยวชาญ, ปรุโปร่ง, แตกฉาน, เช่น ปัญญาเปรื่อง สมองเปรื่อง.
(มันตะยะ, มันไต, มัดไต, มัดตะยะ) น. ผู้ที่ต้องตาย, ได้แก่ พวกมนุษย์ และสัตว์ดิรัจฉาน, คู่กับ อมร ผู้ไม่ตาย คือ เทวดา.
น. ผู้ที่ต้องตาย ได้แก่พวกมนุษย์ ดิรัจฉาน.
น. ผี, ยักษ์, ผู้ไม่ใช่มนุษย์และดิรัจฉาน.
ว. หมดความรู้สึก, สิ้นสติ, สลบ, เช่น นางก็ถึงวิสัญญีสลบลงตรงหน้าฉานปานประหนึ่งว่าพุ่มฉัตรทองอันต้องสายอัสนีฟาด (ม. ร่ายยาว มัทรี).
(สัดตะวะ-, สัด) น. สิ่งมีชีวิตซึ่งแตกต่างไปจากพรรณไม้ ส่วนมากมีความรู้สึกและเคลื่อนไหวย้ายที่ไปได้เอง, ความหมายที่ใช้กันเป็นสามัญหมายถึง สัตว์ที่ไม่ใช่คน, เดรัจฉาน.
(อะบายยะพูม) น. ภูมิที่เกิดอันปราศจากความเจริญ มี ๔ คือ นรก เปรตวิสัย อสุรกายภูมิ และกำเนิดดิรัจฉาน.
(อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
ว. ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด).