ว. อาการที่เดินยกขาไม่ขึ้น.
(ขาน) น. ชื่อปีที่ ๓ ของรอบปีนักษัตร มีเสือเป็นเครื่องหมาย
ก. ลำบากสมบุกสมบัน เช่น ชีวิตของฉันไม่ได้สะดวกสบาย ต้องขึ้นเขาลงห้วยมาตลอด
ไป (ใช้ในความประชด) เช่น จะขึ้นเขาลงห้วยที่ไหนก็ไป ฉันไม่สนใจแล้ว.
คนสำหรับเขาล้อด่าว่าและติเตียน.
น. ชื่อนกขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Columbidae ปากสั้นตรงปลายโค้งเล็กน้อย ขนลำตัวสีเทาหรือเทาอมน้ำตาล ขนปีกมีลาย ขาสีชมพู มักอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง กินเมล็ดพืชบนพื้นดิน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น เขาใหญ่หรือเขาหลวง [ Streptopelia chinensis (Scopoli) ] เขาลายเล็ก [ Macropygia ruficeps (Temminck) ] เขาเขียว [ Chalcophaps indica (Linn.) ] เขาชวาหรือเขาเล็ก [ Geopelia striata (Linn.) ] .
น. ความเป็นไปในชีวิตที่เชื่อว่าถูกกำหนดไว้แล้ว เช่น ชะตาชีวิตเขาลุ่ม ๆ ดอน ๆ มาตลอด, ความเป็นไปในชีวิต เช่น พ่อแม่บางคนชอบกำหนดชะตาชีวิตลูก.
น. ชื่อหน่วยในมาตราวัดเวลาในสมัยโบราณ วัดโดยอาศัยการวัดเงาของตัวคนที่เกิดจากแสงแดดด้วยระยะความยาวของฝ่าเท้าของบุคคลนั้น ตอนเช้าหรือเย็นเงาจะทอดยาว และตอนเที่ยงเงาจะสั้นที่สุดหรืออาจไม่มีเลย เงาจะเปลี่ยนสั้นยาวได้จากเดือนหนึ่งไปสู่อีกเดือนหนึ่ง, เงายาว ๑ ฝ่าเท้า เรียกว่า ๑ ชั้นฉาย สามารถเทียบเวลาได้ ถ้าเป็นตอนเช้าเท่ากับ ๑๑.๔๕ นาฬิกา ถ้าเป็นตอนบ่ายเท่ากับ ๑๒.๑๕ นาฬิกา เช่น ปีขาลวันอังคารเดือนห้า ตกฟากเวลาสามชั้นฉาย (ขุนช้างขุนแผน).
ว. อันเดียวเด่น เช่น เขาลูกนี้ตั้งอยู่โดด ๆ ปืนลูกโดด.
ว. ในขณะที่ เช่น เขาออกจากบ้านไปทั้งที่ฝนกำลังตก เขาลาออกทั้ง ๆ ที่หน้าที่การงานกำลังเจริญก้าวหน้า.
(นักสัด) น. ชื่อรอบเวลา กำหนด ๑๒ ปี เป็น ๑ รอบ เรียกว่า ๑๒ นักษัตร โดยกำหนดให้สัตว์เป็นเครื่องหมายในปีนั้น ๆ คือ ชวด–หนู ฉลู–วัว ขาล–เสือ เถาะ–กระต่าย มะโรง–งูใหญ่ มะเส็ง–งูเล็ก มะเมีย–ม้า มะแม–แพะ วอก–ลิง ระกา–ไก่ จอ–หมา กุน–หมู.
ก. นำเงินหรือทรัพย์สินเป็นทุนเพื่อประกอบธุรกิจ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมทำสิ่งที่ยากและไม่น่าจะทำได้ เช่น เขาลงทุนโกนหัวแสดงละคร.
ก. หกล้มหกลุก เช่น ฝนตกหนักถนนเป็นโคลน เขาต้องวิ่งหนีฝนล้มลุกคลุกคลานไปตลอดทาง สะดุดตอไม้ล้มลุกคลุกคลาน, โดยปริยายหมายความว่า ซวดเซ, ไม่มั่นคง, ตั้งตัวไม่ติด, เช่น ชีวิตของเขาต้องล้มลุกคลุกคลานอยู่ตลอดเวลา เขาล้มลุกคลุกคลานมาหลายปีกว่าจะตั้งตัวได้.
ก. ป่วยจนต้องนอนรักษาตัว เช่น เขาล้มหมอนนอนเสื่อเสียหลายวัน.
ก. ตาย เช่น เขาล่วงลับไปแล้ว.
ก. โผล่หน้ามาพอให้เห็น เช่น มีการมีงานเขาล่อหน้ามาเดี๋ยวเดียวก็ไป.
ว. อาการที่แล่นไปตามทางจากเหนือลงใต้ เช่น รถล่อง ขาล่อง.
อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขาลอม, รอม ก็ว่า.
ก. ตาย เช่น เขาละโลกไปแล้ว.
ว. เพิ่งออกไปหยก ๆ เช่น เขาเพิ่งเดินลับกายไป เขาลับตัวไปเมื่อกี้นี้เอง.
ก. เลิกการแสดงมหรสพ เช่น โขน ละคร ลิเกครั้งหนึ่ง ๆ, (ปาก) เลิกกิจการหรืองานที่เคยทำมา เช่น เขาลาโรงจากการเมืองแล้ว.
มีเนื้อไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร เช่น ขาลีบ แขนลีบ
ก. เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝืดน้อยด้วยความเร็วจนควบคุมหรือยั้งไม่ได้ เช่น เขาลื่นหกล้ม ลูกแก้วลื่นไปตามราง, ลื่นไถล ก็ว่า.
ก. เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝืดน้อยด้วยความเร็วจนควบคุมหรือยั้งไม่ได้ เช่น เขาลื่นไถลไปตามทางที่ลาดชัน, ลื่น ก็ว่า.
ก. หายไปจากความจำ, นึกไม่ได้, นึกไม่ออก, เช่น เขาลืมความหลัง ลืมชื่อเพื่อน, ระลึกไม่ได้เพราะขาดความเอาใจใส่เป็นต้น เช่น ลืมทำการบ้าน ลืมรดน้ำต้นไม้.
ก. ขาดสติไปชั่วคราว, เผลอตัวไปชั่วคราว, เช่น เวลาโกรธเขาลืมตัวไม่กลัวตาย
ลืมตน, ขาดความระลึกถึงฐานะเดิมของตน, เช่น เมื่อเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมา มีคนประจบสอพลอมาก ทำให้เขาลืมตัว.
ก. มีฐานะดีขึ้นกว่าเดิมพอทัดเทียมเพื่อน เช่น เดี๋ยวนี้เขาลืมตาอ้าปากได้แล้ว เขาลืมหน้าอ้าปากได้แล้ว, เงยหน้าอ้าปาก ก็ว่า.
ก. พูดกันทั่วไป แต่ยังไม่มีอะไรยืนยันได้แน่นอน เช่น เขาลือว่าจะเกิดเหตุที่ท่าน้ำ, (โบราณ ใช้ ฦๅ).
น. ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทำให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทำคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุก ว่า เขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้.
ว. ไม่มีทรัพย์สมบัติเหลือติดตัว เช่น เขากลายเป็นคนสิ้นเนื้อประดาตัวเพราะหมกมุ่นในการพนัน กิจการค้าของเขาล้มเหลวจนสิ้นเนื้อประดาตัว.
ว. ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร.
ลืมบท ไม่สามารถเล่นต่อไปได้ (ใช้ในการร้องเพลงและเล่นละคร) เช่น เขาลืมท่องบท เลยหลุดบท
น. ส่วนของเขาที่ถัดยอดเขาลงมา.
น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๘ เช่น ปีขาล อัฐศก จุลศักราช ๑๓๔๘.