แปลศัพท์
PopThai
dropdown
US
ads-m
353 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*กิจการ*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: กิจการ, -กิจการ-
Longdo TH - TH
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
based in
based in = เปิดดำเนินกิจการครั้งแรกที่ The company has its base in New York , and branch offices all over the world.
starbucks
Starbucks is a international coffee retail chain company, based in Seattle, Washington, United States Starbucks คือชื่อบริษัทยักษ์ใหญ่ขายกาแฟ, มีสาขามากมายในต่างประเทศ. เปิดดำเนินกิจการครั้งแรกที่เมือง Washington, United States
Longdo Unapproved JP - JP**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พันธกิจ
[ミッション](n, org)กิจการหรืองานที่มีภาระรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผล
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)businessSee Also:trade, work, enterprise, undertakingSyn.ธุรกิจ, กิจการค้า, ธุรกิจการค้าExample:ทุกคนมุ่งหวังที่จะมีกิจการเป็นของตัวเองThai Definition:การงานที่ประกอบ
(n)commerceSee Also:trade, business, dealingsSyn.การค้า, การค้าขาย, กิจการ, ธุรกิจ, ธุรกิจการค้าExample:กิจการค้าของเขากำลังทรุด
(v)close downSee Also:go out of business, cease operationSyn.เลิกกิจการ, ล้มเลิกกิจการAnt.เปิดกิจการExample:ธุรกิจบางแห่งต้องปิดกิจการเพราะสินค้าที่ผลิตออกมาขายไม่ได้Thai Definition:หยุดทำการงานอย่างถาวร
(v)go out of businessSyn.ปิดกิจการExample:ดาราดังเลิกกิจการร้านอาหารไปเมื่อเดือนที่แล้วเพราะทนขาดทุนไม่ไหวThai Definition:ไม่ดำเนินการงานหรือธุระที่เคยประกอบมาอีกต่อไป
(v)startSee Also:establish, begin, initiate, found, set upSyn.เปิดกิจการAnt.ปิดกิจการ, ล้มเลิกกิจการ, เลิกกิจการExample:ร้านอาหารไทยในปารีสของผมจะเริ่มกิจการในเดือนหน้า
(n)proprietorSee Also:owner, title-holderExample:ผู้หญิงคนนั้นเป็นเจ้าของกิจการส่งออกเสื้อผ้าไปต่างประเทศรายใหญ่ที่สุดรายหนึ่งUnit:คนThai Definition:ผู้มีกรรมสิทธิ์หรือครอบครองใช้สอยประโยชน์ ในการงานที่ตนประกอบ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. การงานที่ประกอบ, ธุระ.
น. กิจการ, หน้าที่, ธุระ, เช่น กงการอะไรของคุณ ไม่ใช่กงการของฉัน.
(กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก
(กำมะกาน) น. บุคคลซึ่งได้รับเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการบางอย่างเป็นคณะ. (ส. กรฺม + การ; ป. กมฺม + การ).
(กำมะ-) น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์.
(กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.
(กนอุปะกอน, กนอุบปะกอน) น. อุปกรณ์เชิงกลที่ออกแบบหรือผลิตขึ้นเพื่อใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ที่รวม, ที่รวมกิจการงานที่มีสาขาย่อยออกไป, เช่น สำนักงานกลาง ไปรษณีย์กลาง.
ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ.
น. กิจการเกี่ยวกับเงิน, เรื่องเกี่ยวกับเงิน เช่น เดือนนี้การเงินไม่ค่อยดี.
น. กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพื่อทำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพ หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตกลงเข้าร่วมกันนั้นซึ่งถึงแก่ความตาย และมิได้ประสงค์จะหากำไรหรือรายได้เพื่อแบ่งปันกัน.
น. กิจการบ้านเมืองทั่ว ๆ ไป.
น. การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรือ กิจการอู่เรือ กิจการท่าเรือ และกิจการที่เกี่ยวเนื่องหรือเป็นส่วนประกอบกับกิจการดังกล่าว.
กิจการอำนวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ตำแหน่งการเมือง ได้แก่ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่อำนวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผู้แทนราษฎร) การบริหารแผ่นดิน.
กิจการ.
น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์.
น. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทจำกัด เช่น การออกหุ้นและการโอนหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น.
น. ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน โดยของที่นำเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากร และค่าธรรมเนียมเป็นพิเศษ.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ โดยของที่นำเข้าไปในเขตดังกล่าวจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางอากรเป็นพิเศษ.
น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกัน.
ก. รวมทุนกันเพื่อทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
น. กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่ การฟันขอ, ประเภทตำราว่าด้วยทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง.
น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา.
น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ.
ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า.
น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์.
น. กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปรกติ หรือประกอบธุรกิจการรับซื้ออสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาขายฝากเป็นทางค้าปรกติ.
น. สำนักผู้ปกครองบ้านเมือง, ที่ว่าราชการเมือง, คณะผู้ว่าการบ้านเมืองซึ่งประกอบด้วยเจ้าผู้ครองเมืองหรือผู้ครองเมืองข้าหลวงประจำนครหรือเมืองซึ่งต่อมาเรียกว่า ปลัดมณฑลประจำจังหวัด และข้าหลวงผู้ช่วย มีหน้าที่บังคับบัญชารับผิดชอบในกิจการทั่วไปของเมือง, เค้าสนาม ก็ว่า.
น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มีสถานที่สอนความรู้วิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิชาช่างไฟฟ้า วิชาช่างเครื่องยนต์ วิชาช่างวิทยุโทรทัศน์ ให้แก่บุคคลทั่วไป โดยไม่จำกัด เพศ วัย และวุฒิการศึกษา โดยครูที่มีความรู้และยินดีอาสาสมัครสอนให้เป็นวิทยาทาน เปรียบเสมือนพระดาบสในสมัยโบราณที่มีกุศลศรัทธาที่จะถ่ายทอดศิลปศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ เริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส และจัดตั้งเป็นมูลนิธิพระดาบสเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของโครงการพระดาบส และกิจการของโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส.
น. รายการแสดงสินทรัพย์และหนี้สิน เพื่อให้รู้ฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง โดยมีบัญชีกำไรและขาดทุนประกอบด้วย.
น. กิจการที่ทำ.
น. การที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำกิจการแทนผู้อื่น โดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ทำหรือโดยมิได้มีสิทธิที่จะทำการงานนั้นแทนผู้อื่น.
น. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง.
ก. เลิกล้มกิจการเพราะหมดทุน
น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจหน้าที่ควบคุมและตรวจตราการเดินเรือ การใช้เรือ การจอดเรือ ร่องนํ้า ทางเดินเรือ และกิจการท่าเรือ.
ก. ชำระสะสางการงานให้เสร็จไป กับจัดการใช้หนี้เงินและแจกจำหน่ายสินทรัพย์เมื่อเลิกกิจการ อันเป็นอำนาจและหน้าที่ของผู้ชำระบัญชี.
น. สหกรณ์ตั้งแต่ ๕ สหกรณ์ขึ้นไปที่รวมกันจัดตั้งเป็นชุมนุมสหกรณ์เพื่อร่วมกันดำเนินกิจการให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมกันนั้น ชุมนุมสหกรณ์มี ๒ ระดับ คือ ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ.
ก. เช่าที่ดินของผู้อื่นเพื่อการทำนา ทำสวน ทำไร่ ทำนาเกลือ เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ำ และกิจการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด.
ก. โอนสิทธิหรือกิจการไปให้อีกคนหนึ่งโดยได้ค่าตอบแทน, รับโอนสิทธิหรือกิจการจากอีกคนหนึ่งโดยต้องเสียค่าตอบแทน เรียกว่า รับเซ้ง.
ข้อเสนอเพื่อให้มีการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกิจการของสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ
โดยปริยายหมายความว่า เคลื่อนไปด้วยกำลังต่าง ๆ เช่น นาฬิกาเดิน เครื่องจักรกำลังเดิน เลือดลมเดินสะดวก, ทำให้เริ่มทำงาน เช่น เดินเครื่องจักร, ทำให้เคลื่อนไป เช่น เดินหมากรุก, ลุล่วงไป เช่น งานเดินไปได้ดี, นำไปส่ง เช่น เดินสาร เดินข่าว เดินหนังสือ เดินหมาย, ประกอบกิจการขนส่ง เช่น เดินรถ เดินเรือ เดินอากาศ
ก. ประกอบกิจการขนส่งทางรถ.
ก. ประกอบกิจการขนส่งทางเรือ.
ก. ประกอบกิจการขนส่งทางอากาศ.
น. ทุนเดิมสำหรับทำกิจการค้าเป็นต้น.
น. ผู้ที่ได้รับความไว้วางใจให้มีหน้าที่รักษาสิ่งของหรือทำกิจการประจำ เช่น ต้นกุญแจ ต้นห้องต้นบัญชี.
น. บุคคลซึ่งเป็นสมองหรือเป็นหัวหน้าในการดำเนินกิจการ.
น. บุคคลซึ่งในทางค้าขาย ทำการซื้อ หรือขายทรัพย์สิน หรือรับจัดทำกิจการค้าอย่างอื่นในนามของตนเองต่างตัวการ.
ก. พูดหรือทำให้กิจการของผู้อื่นซึ่งกำลังดำเนินไปด้วยดีกลับเสียไป.
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
การแต่งตั้งเฉพาะกิจการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
๑. การดำเนินกิจการ๒. การไล่ติดตาม[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การรวมกลุ่มกิจการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การอนุญาตให้ดำเนินกิจการโดยไม่กำหนดระยะเวลา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กิจการส่วนท้องถิ่น[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กิจการจ้างงานแบบปิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กิจการจ้างงานแบบเปิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กิจการจ้างงานแบบสหภาพ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
คำแถลงกิจการ, คำชี้แจงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สิน (ในคดีล้มละลาย)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กิจการที่มีหลักประกัน[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กิจการจ้างงานแบบเปิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การแต่งตั้งเฉพาะกิจการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
เกี่ยวกับเทศบาล, เกี่ยวกับท้องถิ่น, เกี่ยวกับกิจการภายในประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. สิทธิของคู่สมรส (ก. แพ่ง)๒. สหพันธ์ธุรกิจการเงิน (ก. พาณิชย์)[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเลิกกิจการโดยคำสั่งศาล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
สามารถที่จะทำกิจการได้[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กิจการจ้างงานแบบปิด[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เอฟซีซี (คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
เอฟซีซี (คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร (เอฟซีซี)[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร (เอฟซีซี)[เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การอนุญาตให้ดำเนินกิจการโดยไม่กำหนดระยะเวลา[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเลิกกิจการโดยสมัครใจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การพยายามเข้าครอบงำกิจการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การค้า, กิจการค้าขาย[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
กิจการจ้างงานแบบสหภาพ[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
การเก็บของในคลังสินค้า, กิจการคลังสินค้า[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเลิกกิจการ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเลิกกิจการโดยคำสั่งศาล[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
การเลิกกิจการโดยสมัครใจ[นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุมExample:<p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
การเข้าครอบครองกิจการExample:การเข้าซื้อกิจการของบริษัทหนึ่งโดยบริษัทผู้ซื้ออาจเข้าไปเจรจาขอซื้อโดยตรงกับฝ่ายบริหารของบริษัทนั้น หรือโดยการแลกเปลี่ยนหุ้นของทั้งสองบริษัท ซึ่งอาจมีการจ่ายเงินสดส่วนเกินหรือไม่ก็ได้ มีลักษณะคล้ายกับการควบกิจการ[ปิโตรเลี่ยม]
ธุรกิจการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
เศรษฐกิจการเกษตร[เศรษฐศาสตร์]
การซื้อกิจการบริษัท[เศรษฐศาสตร์]
การขายกิจการบางส่วน[เศรษฐศาสตร์]
เงินให้กู้ยืมเพื่อกอบกู้กิจการ[เศรษฐศาสตร์]
การซื้อกิจการธนาคาร[เศรษฐศาสตร์]
การควบคุมกิจการธนาคาร[เศรษฐศาสตร์]
วิสาหกิจการพาณิชย์[เศรษฐศาสตร์]
บริษัทที่รวมกิจการหลายประเภท[เศรษฐศาสตร์]
เงินลงทุนในกิจการที่มีความเสี่ยง[เศรษฐศาสตร์]
บริษัทที่ลงทุนในกิจการที่มีความเสี่ยง[เศรษฐศาสตร์]
การรับรังสีของบุคคลทั่วไป, การได้รับรังสีของบุคคลทั่วไปจากต้นกำเนิดรังสี หรือจากการดำเนินกิจการทางรังสีซึ่งได้รับอนุญาต หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้ไม่รวมถึงการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน จากการรักษาทางการแพทย์ และจากต้นกำเนิดรังสีในธรรมชาติ (ดู occupational exposure และ medical exposure ประกอบ)[นิวเคลียร์]
การเข้าครอบครองกิจการอย่างไม่เป็นมิตร[ธุรกิจ]
การขายกิจการที่เป็นของรัฐ[ธุรกิจ]
การแปรรูปกิจการเอกชนไปเป็นของรัฐ[ธุรกิจ]
การครอบงำกิจการExample:การที่บุคคลหรือนิติบุคคลใดเข้าไปถือหุ้นในบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เพื่อให้ได้สิทธิมากพอที่จะควบคุมการบริหารงาน ของกิจการนั้น[ตลาดทุน]
การฟื้นฟูกิจการExample:การปรับโครงสร้างธุรกิจอาจโดยเป็นทั้งการปรับโครงสร้างทางการเงินและการบริหารงาน เพื่อให้ธุรกิจมีความสามารถกลับมาดำเนินงานทางธุรกิจและสามารถสร้างผลกำไรได้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้จัดหมวด rehabilitation company สำหรับบริษัทที่ต้องเข้าข่ายถูกเพิกถอน แต่กำลังอยู่ระหว่างฟื้นฟูกิจการ หรือแก้ไขปัญหาให้พ้นจากเหตุแห่งการถูกเพิกถอน[ตลาดทุน]
การครอบงำกิจการผ่านนิติบุคคลอื่นExample:กรณีที่ถือว่าเป็นการเข้าครอบงำกิจการผ่านนิติบุคคลอื่นซึ่งทำให้ต้องทำคำเสนอซื้อ คือ การได้หุ้นหรือมีอำนาจควบคุม ตั้งแต่ 50% ในนิติบุคคลอื่น รวมถึงการส่งบุคคลเข้าไปเป็นกรรมการในจำนวนที่มีนัยสำคัญ และนิติบุคคลอื่นทุกทอดจนถึงทอดสุดท้ายที่ถือหุ้นในกิจการรวมกับบุคคลตามมาตรา 258 ของนิติบุคคลดังกล่าวถือหุ้นในกิจการ ตั้งแต่ 25%[ตลาดทุน]
การควบกิจการExample:การที่บริษัทตั้งแต่ 2 บริษัทขึ้นไป รวมกิจการเข้าด้วยกัน โดยผลของการรวมอาจเกิดเป็นบริษัทใหม่ หรือคงเหลือเป็นบริษัทใดบริษัทหนึ่งเพียงบริษัทเดียวก็ได้[ตลาดทุน]
การกำกับดูแลกิจการที่ดีExample:ระบบที่จัดให้มีโครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และผู้ถือหุ้น เพื่อสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน นำไปสู่ความเจริญเติบโตและเพิ่มคุณค่าให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว โดยคำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียอื่นประกอบ[ตลาดทุน]
รายงานการได้มาหรือจำหน่ายหลักทรัพย์ของกิจการ (แบบ 246-2)Example:เพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ที่ผ่านทุก ๆ 5% ของจำนวนหลักทรัพย์ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทมหาชนจำกัด เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจจะมีผลต่อการเปลี่ยนอำนาจในการบริหารบริษัทในอนาคตได้ โดยจะต้องส่งแบบรายงานภายใน 3 วันทำการ[ตลาดทุน]
การครอบงำกิจการ[TU Subject Heading]
การรวมกิจการ[TU Subject Heading]
บริการกิจการนักศึกษา[TU Subject Heading]
คนงานในกิจการขนส่ง[TU Subject Heading]
การรวมตัวของกิจการในแนวดิ่ง[TU Subject Heading]
การเข้าครอบครองกิจการExample:การเข้าซื้อกิจการของบริษัทหนึ่ง โดยบริษัทผู้ซื้ออาจเข้าไปเจรจาของซื้อโดยตรง กับฝ่ายบริหารของบริษัทนั้น หรือโดยการแลกเปลี่ยนหุ้น ของทั้งสองบริษัท ซึ่งอาจมีการจ่ายเงินสดส่วนเกินหรือไม่ก็ได้ มีลักษณะคล้ายกับการควบกิจการ (ดู Merger) [สิ่งแวดล้อม]
การแปรรูปกิจการรัฐวิสาหกิจExample:การขายกิจการของรัฐให้แก่ภาคเอกชนทั้งนี้ รวมถึงการกระจายอำนาจการบริการ และการกระจายหุ้นในกิจการของรัฐให้แก่เอกชนเพื่อให้เอกชนได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการบริหารมากขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากนโยบายทางการเมือง หรือด้วยเหตุผลทางด้านเศรษฐกิจก็ได้ [สิ่งแวดล้อม]
ประกอบกิจการโรงงานExample:การทำ การผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เกฌบรักษา หรือทำลายสิ่งใดๆ ตามลักษณะกิจการของโรงงาน แต่ไม่รวมถึงการทดลองเดินเครื่องจักร [สิ่งแวดล้อม]
การประชุมอาเซียนว่าด้วยกิจการพลเรือน[การทูต]
สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน[การทูต]
เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว[การทูต]
คณะมนตรีอาเซียนด้านปิโตรเลียม เป็นกลไกการหารือระหว่างวิสาหกิจแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ประกอบ กิจการด้านปิโตรเลียม มีการประชุมปีละ 2-3 ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแสวงหาความร่วมมือระหว่างกัน[การทูต]
กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต "[การทูต]
ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง[การทูต]
เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น[การทูต]
นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ[การทูต]
นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)[การทูต]
รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง[การทูต]
ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่[การทูต]
องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร "[การทูต]
กองทุนให้ความช่วยเหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน " ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยกองทุนให้ความช่วย เหลือพัฒนาเศรษฐกิจแก่ประเทศเพื่อนบ้าน พ.ศ. 2539 โดยให้สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงาน รับผิดชอบ มีวัตถุประสงค์ให้เงินกู้ผ่อนปรนแก่รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินของรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม เพื่อลงทุนในโครงการพัฒนาประเทศ โดยเงินกู้ที่ รัฐบาลไทยปล่อยให้กู้นี้ จะต้องเป็นเงินสกุลบาท และส่วนหนึ่งของ เงินกู้จะต้องนำไปซื้อสินค้าและบริการจากภาคเอกชนไทย "[การทูต]
เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้?[การทูต]
คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว[การทูต]
นโยบายต่างประเทศเชิงรุก " เป็นนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงยุคหลังสงครามเย็นที่การแข่งขันและความขัด แย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ ได้เกือบหมดสิ้นไป โดยประเทศไทยได้เน้นบทบาทนำทางการทูต และ มีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจการต่าง ๆ ของประชาคมระหว่างประเทศมากขึ้น "[การทูต]
พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม[การทูต]
อธิปไตย ประเทศที่มีอธิปไตยนั้นมีอิสระ ไม่ตกอยู่ภายใต้การควบคุมจากภายนอกประเทศ ในการดำเนินกิจการของประเทศตนทั้งภายในและภายนอกประเทศ[การทูต]
สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ "[การทูต]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
- กิจการนั่นดีมั้ยSchindler's List (1993)
พ่อผมเปลี่ยนชื่อเป็น ดอน อันโตนิโย แล้วก็ตกถังข้าวสาร ดำเนินกิจการไร่กาแฟDon Juan DeMarco (1994)
รู้สิ ปิดกิจการไง เหมือนทุกธุรกิจในเมืองนี้แหละJumanji (1995)
กิจการดีๆซักที่ ไม่มีใครมาก่อกวนThe Great Dictator (1940)
ที่ไม่มีกิจการเป็นของตัวเองThe Great Dictator (1940)
มันเป็นสภาวะปกติของกิจการกับเขา12 Angry Men (1957)
แต่ไม่เคยไม่ได้สำหรับช่วง เวลาที่ฉันสงสัยว่าจะพาเขากลับ ... เป็นกิจการที่เต็มไปด้วยอันตรายGreystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984)
บ่ายวันนี้ อธิบดีกรมกิจการอเมริกาใต้ ได้ยืนยันการปฏิเสธ ว่าไม่มีการเข้าแทรกแซงการแต่งตั้งSpies Like Us (1985)
แม็กซ์ คงต้องปิดกิจการแหง ๆDirty Dancing (1987)
แน่นอนว่ามันไม่จำเป็นต้องอธิบายถึงสภาพที่แท้จริงของกิจการThe Russia House (1990)
ไม่มีข้อความด่วนเป็น มีภาวะวิกฤตในกิจการของคุณไม่ได้The Russia House (1990)
ทัดดี้คุมกิจการแท็กซี่ และร้านพิซซ่าเบลล่าวิสต้า และที่อื่นๆเป็นของพี่ชายเขา พอล หัวหน้าแก๊งของย่านGoodfellas (1990)
พอลลี่คุ้มครองพวกเขาจาก คนอื่นๆที่จ้องจะมาหุบกิจการGoodfellas (1990)
อาจเป็นทายาทกิจการรถไฟTitanic (1997)
ครอบครัว ยามามูระ ใน ซาชิกิจิ เคยดำเนินกิจการหาปลาขนาดใหญ่.Ringu (1998)
แต่พวกเขาขายกิจการซะเกือบหมด.Ringu (1998)
ลูกชายและลูกสะใภ้ของเขาเปิดกิจการโรงแรม.Ringu (1998)
โรงงานนี้เคยเป็นกิจการของครอบครัวHoshinoAll About Lily Chou-Chou (2001)
ผมปลอมตัวเป็นนายทุนที่ชอบเสี่ยงกับกิจการใหม่ ๆThe Corporation (2003)
อย่างหนึ่งคือมันอาจยอมดำเนินกิจการขาดทุนThe Corporation (2003)
มันอาจดำเนินกิจการทั้ง ๆ ที่รู้ว่าขาดทุน เพราะผลดีข้างเคียงบางอย่างThe Corporation (2003)
เช่น ถ้าโรงงานเหล็กของรัฐดำเนินกิจการขาดทุน มันสามารถขายเหล็กราคาถูกแก่อุตสาหกรรมอื่น นั่นอาจเป็นสิ่งที่ดีก็ได้The Corporation (2003)
การเข้าฮุบกิจการแบบชกใต้เข็มขัด สำหรับธุรกิจใหญ่ ๆ ระบอบเผด็จการมักเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์The Corporation (2003)
ถ้าเราไม่ชอบสินค้าไหน (ซุกชูคิม เจ้าของกิจการ) ถ้าเราไม่ชอบเป๊ปซี-โคลา ธนาคารแห่งอเมริกา ถ้าคุณไม่ชอบการกระทำของบรรษัทพวกนี้The Corporation (2003)
ถ้าคุณคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ตัดสินใจยาก (บรูซ แฮมิลตัน เจ้าของกิจการ) ว่าวันนี้จะซื้อของที่ไหน มันจะไม่ยิ่งยากไปกว่าหรือThe Corporation (2003)
ห้างจะปิดกิจการถ้าไม่มีคนบริหารSomething About 1% (2003)
ในประวัติศาสตร์ ของอารยธรรมใด ๆ มันเป็นช่วงเวลาของการเข้า ซื้อกิจการของเทคโนโลยีContact (1997)
ปู่กำลังสอนเจ้าทุกอย่าง แผ่นดินของเรา กิจการของเรา ปู่ลืมสิ่งที่สำคัญที่สุดไปThe Education of Little Tree (1997)
ไม่มีใครยึดกิจการของฉันSchindler's List (1993)
"ไปได้สวยพวก เราขยายกิจการ"Crash (2004)
ฉันจะขายให้เธอแล้วฉันก็จะเลิกกิจการซะRice Rhapsody (2004)
เข้าใจแล้ว กิจการอาหารขยะนั่น คงทำรายได้ดีสินะSpygirl (2004)
บริษัทนี้ทำกิจการอะไร สร้างสินค้าหรือ--Primer (2004)
เธอรู้จักกิจการที่กำลังรุ่งแถวๆ นี้มั้ยล่ะSwing Girls (2004)
กิจการพ่อฉันไงล่ะSwing Girls (2004)
ที่จริง ร้านจะปิดกิจการน่ะBe with You (2004)
เรารู้ว่าภารกิจการช่วยเหลือเชลยศึกในครั้งนี้.. มีคุณค่าทางใจมากกว่าอะไรทั้งนั้นThe Great Raid (2005)
ฉันกัดฟันหาเลี้ยงที่บ้าน จนตอนนี้เรามีกิจการของตัวเองGoal! The Dream Begins (2005)
ตำรวจสั่งระงับกิจการของเรา มันหาว่ามันเป็นกิจการบังหน้าเพื่อค้ายาLonesome Jim (2005)
ตำรวจสั่งปิดกิจการพ่อแม่ผมแล้ว, อีวิลLonesome Jim (2005)
ไม่ใช่ ฉันไม่ได้จ่ายพวกมัน มันถึงได้ปิดกิจการฉันFour Brothers (2005)
ตอนที่พวกนั้น สั่งปิดกิจการนาย เธอไปที่นั่นFour Brothers (2005)
แม่หมายถึง แม่ไม่ได้เปิดกิจการโรงแรมน่ะThe Fog (2005)
เพราะลูกชายคนเล็กกำลังจะเข้ามารับช่วงต่อกิจการของครอบครับแล้วAmerican Pie Presents: Band Camp (2005)
กิจการนี้ทำให้ผมได้ใกล้ชิดเด็กๆ มากขึ้น เหรอAlways - Sunset on Third Street (2005)
กิจการนั่นก็เป็นแค่ร้านขนมเล็ก ที่กำลังจะเจ๊งอยู่แล้วAlways - Sunset on Third Street (2005)
กิจการนี้เกือบจะถูกเทคโอเวอร์Happily N'Ever After (2006)
ผมมีบริษัทที่ให้บริการ เกี่ยวกับกิจการของธนาคาร... ...รายใหญ่ทางใต้, แต่, จริงๆ, ผมเป็นนักลงทุนการเงินรุ่นเก่าFirewall (2006)
..ถ้าเราไม่สามารถเป็นเจ้าของที่ดินภายใน 90 วัน.. ทางรถไฟจะตกเป็นของธนาคารอื่น เพื่อหาเงินทุนในการขยายกิจการBandidas (2006)
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[damnoēn kitjakān] (v, exp) EN: run business
[jaokhøng kitjakān] (n, exp) EN: proprietor ; owner ; title-holder
[kān damnoēn kitjakān] (n, exp) EN: operating
[kān kamkapdūlaē kitjakān] (n, exp) EN: corporate governance
[kān khayāi kitjakān] (n, exp) EN: expansion growth ; intensive growth
[kān khūap kitjakān] (n, exp) EN: merger
[kān khūap rūam kitjakān] (n, exp) EN: merger
[kān krajāi kitjakān khøng rat pai sū phāk ēkkachon] (xp) EN: privatization
[kān loēk kitjakān] (n, exp) EN: winding-up
[kān loēk kitjakān dōi khamsang sān] (n, exp) EN: compulsory winding-up
[kān loēk kitjakān dōi samakjai] (n, exp) EN: voluntary winding-up  FR: fermeture volontaire [ f ]
[kān rūam kitjakān] (n, exp) EN: consolidation ; merger ; business combination
[kān rūamtūa khøng kitjakān] (n, exp) EN: integrative growth
[kān sanōe cheū kitjakān] (n, exp) EN: take-over bid
[kān seū kitjakān] (n, exp) EN: takeover
[kān seū kitjakān thangmot] (n, exp) EN: buyout
[khāchaijāi nai kān damnoēn kitjakān] (n, exp) EN: operating cost ; operating expenses ; overheads ; overhead costs
[khayāi kitjakān] (v, exp) EN: expand a business
[khrøp-ngam kitkān] (n, exp) EN: business takeover  FR: prise de contrôle d'une entreprise [ f ]
[khrøpngam kitkān] (v, exp) EN: take over a business ; do a takeover  FR: prendre le contrôle d'une entreprise
[kitjakān] (n) EN: business ; trade ; work; enterprise ; undertaking ; vocational work  FR: affaire [ f ] ; entreprise [ f ] ; opération [ f ]
[kitjakān jaokhøng khon dīo] (n, exp) EN: sole proprietorship
[kitjakān khā] (n, exp) EN: commerce ; trade ; business ; dealings  FR: commerce [ m ] ; business [ m ]
[kitjakān phaendin] (n, exp) EN: state business ; state affairs
[kitjakān phāinai] (n, exp) EN: internal affair  FR: affaire interne [ f ]
[kitjakān ruam khā] (n, exp) EN: joint venture
[kitkān] (n) EN: business ; enterprise ; affair ; trade ; work ; undertaking  FR: entreprise [ f ] ; business [ m ] ; affaire [ f ]
[klum børisat kitjakān ruam khā] (n, exp) EN: joint venture ; consortium
[loēk kitjakān] (v, exp) EN: close down
[roēm kitjakān] (v, exp) EN: start ; establish ; begin ; initiate ; found ; set up
[rūam kitjakān] (v, exp) EN: merge  FR: fusionner ; se fondre
[sētthakit kānmeūang] (n, exp) EN: political economy  FR: économie politique [ f ]
[seū kitjakān] (v, exp) EN: take over
Longdo Approved EN-TH
(n)กิจการภายใน, เรื่องภายใน
(n)สามีและภรรยาที่เป็นเจ้าของกิจการร่วมกัน เช่น She found that copreneur relationships are significantly less egalitarian than dual-career marriages.
(adj)ปิดกิจการ, เลิกกิจการ, ที่ไม่มีผลอีกแล้ว เช่น a defunct law; a defunct organization; list of defunct biotechnology companies due to mergers and acquisitions, business liquidation, insolvency or reorganization and renaming
(n)ผู้ประกอบกิจการซื้อขายงานศิลปะ
(n)การซื้อกิจการแบบไม่เป็นมิตร
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)บริษัทในเครือSee Also:กิจการในเครือ, สาขาSyn.branch, subsidiary
(n)การไหลเวียนของเงินในธุรกิจการซื้อขาย
(n)การค้าขายสินค้าSee Also:ธุรกิจการค้าSyn.business, trade
(phrv)ปิดกิจการSee Also:ปิดดำเนินการ, เลิกSyn.shut down
(n)ธุรกิจการรีดนมและผลิตภัณฑ์นม
(vt)ขายกิจการของรัฐให้กับเอกชนSyn.privatizeAnt.nationalize
(vt)ขายกิจการของรัฐให้กับเอกชนSyn.privatizeAnt.nationalize
(adj)ที่กล้าได้กล้าเสียSee Also:ที่กล้าเริ่มกิจการใหม่ๆSyn.ambitious, venturesome
(n)การดำเนินกิจการเรือข้ามฟากSee Also:การให้บริการเรือข้ามฟาก
(n)กิจการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศSee Also:การต่างประเทศ
(phrv)รวมกันเป็นบริษัท (ทางกฎหมายธุรกิจ)See Also:รวมกิจการ
(idm)มีปัญหาในการขยายกิจการ การเจริญเติบโต หรือความก้าวหน้า
(n)ธุรกิจการขนส่งSyn.transport company
(n)การปิดโรงงานโดยเจ้าของกิจการในช่วงที่มีการประท้วง
(n)ระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสานระหว่างกิจการของรัฐและเอกชน
(n)กิจการทางธุรกิจSee Also:กิจการSyn.business
(n)ผู้ดำเนินกิจการทางธุรกิจSee Also:ผู้ประกอบธุรกิจ
(n)การทำธุรกิจส่วนตัวSee Also:การทำกิจการส่วนตัว
(n)กิจการที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภค
(n)ธุรกิจการพิมพ์
(idm)ปิดกิจการค้า
(n)การขนส่งทางเรือSee Also:ธุรกิจการขนส่งสินค้า, ชิบปิ้ง
(n)การปิดกิจการSyn.closing, closedown
(phrv)ทำให้เริ่มประกอบกิจการหรือการค้า
(n)กิจการซื้อขายแลกเปลี่ยน
(n)ธุรกิจการขนส่ง
(n)ธุรกิจการค้าที่มีปริมาณสินค้ามาก
(n)งานสังคมสงเคราะห์เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนSee Also:กิจการสวัสดิการ
(adj)ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในธุรกิจการค้า
(idm)อยากเลิก (กิจการ, ชีวิตคู่, ข้อสัญญา, ข้อบังคับ)See Also:อยากตาย, อยากยุติ
Hope Dictionary
(เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800
(แอด' เวอไทซิง) n. การโฆษณา, สิ่งที่ใช้ในการโฆษณา, คำโฆษณา, อาชีพหรือธุรกิจการโฆษณา.Syn.advertizing
(อะฟิล' ลิเอท) vt., vi. ผูกพัน, เข้าร่วม, รับเป็นสมาชิก, สืบสาวเรื่องราว, เป็นพี่น้องกัน, ยกให้เป็นพี่น้อง, รับเป็นบุตร. -n. สาขา (กิจการธุรกิจ) , ผู้ที่เป็นสมาชิกหรือผูกพัน. -affiliable adj. -affiliation n.Syn.branch, associate
(แอจ' จิโอทิจ) n. ธุรกิจการเปลี่ยนเงินตรา, ธุรกิจนายหน้าหลักทรัพย์หรือใบหุ้น
(แอนทีทรัส'ทฺ) adj. ต่อต้านการผูกขาด (ธุรกิจการค้า) (opposed to monopolies)
(โบร'เคอริจฺ) n. กิจการนายหน้า, ค่านายหน้า, ค่าธรรมเนียม
(บิซ'ซิเนส) n. ธุรกิจ, การค้า, เรื่องที่ยากลำบาก, เรื่องที่ถือว่าสำคัญและเอาจริงเอาจัง, ธุระ, สถานการณ์, ภาระหน้าที่, การงาน -Id. (mean business) เอาจริง adj. เกี่ยวกับธุรกิจการค้า
n. ทุนทั้งหมดที่ลงสำหรับกิจการหนึ่ง
(แคพ'พิทัลลิสทฺ) n. นายทุน, นักทุนนิยม, เศรษฐีที่ลงทุนในกิจการ
(คาร์'เพนทรี) n. งานช่างไม้, กิจการช่างไม้See Also:carpentering n. งานช่างไม้, กิจการช่างไม้
(แคช) { cashed, cashing, cashes } n. เงินสด, เหรียญเงิน, ธนบัตร. vt. จ่ายเงินสด, รับเงินสด, ขึ้นเป็นเงินสด -Phr. (cash in ขึ้นเป็นเงินสด, หยุดกิจการ, ถอนตัว) -Phr. (cash in on หากำไรจาก)See Also:cashable adj. ดูcashSyn.curren
n. ข่าวธุรกิจการค้าในหน้าหนังสือพิมพ์
n. การขายสินค้าทั้งหมดเพื่อปิดกิจการ, การขายสินค้าทั้งหมดที่ไม่ต้องให้มีอีกในร้าน
(ดิสทิล'ละรี) n. สถานที่กลั่น, กิจการต้มกลั่น, โรงต้มกลั่น, โรงต้มกลั่นเหล้า
(เอมไพรซ') n. กิจการที่ผจญภัย, ความกล้าหาญอย่างอัศวิน.Syn.emprize.
(เอน'เทอไพรซ) n. โครงการ, กิจการ, บริษัท, อุตสาหกิจ, วิสาหกิจSyn.task
(อานทระพระเนอ') n. ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุน.See Also:entrepreneurial adj. ดูentrepreneur entrepreneurship n. ดูentrepreneurSyn.employer -pl. entrepreneurs
(เอฟซีซี) ย่อมาจากคำว่า Federal Communication Commission (แปลว่า คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร) ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ
คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสารใช้ตัวย่อว่า FCC (อ่านว่า เอฟซีซี) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ
(โฟลเท'เชิน) n. การลอย, การล่องลอย, การเริ่มโครงการ, การก่อตั้งกิจการ, การรวบรวมเงินSyn.flotation
(เฟอ'รีเออรี) n. ธุรกิจการค้าขายหนังขนสัตว์, การทำเสื้อผ้าหนังขนสัตว์
(แฮน'เซิล) n. ของขวัญ, ประสบการณ์แรกเริ่ม vt. ให้ของขวัญแก่, ทำพิธีเปิดกิจการ, ใช้เป็นครั้งแรก, พยายามหรือประสบเป็นครั้งแรก.Syn.hansel
n. การยึดหน่วง, คนที่ไม่ยอมเข้าร่วมกิจการ
(อิคแอค' เชิน) n. ความขี้เกียจ, การไม่ทำอะไร, การไม่ดำเนินกิจการ, การอยู่เฉย ๆSyn.idleness, immobility, rest
(อิน'ดัสทรี) n. ความขยันหมั่นเพียร, ความอุตสาหะ, อุตสาหกรรม, ธุรกิจการค้าทั่วไป, เจ้าของกิจการและผู้จัดการทั่วไป, การทำงานที่มีระบบSyn.diligence
(อินเทอโลพ') vi. ดำเนินกิจการโดยไม่มีใบอนุญาต, รุกล้ำไปในบริเวณที่หวงห้ามโดยไม่มีใบอนุญาต, พูดสอดขึ้น, ยุ่งเรื่องของคนอื่น.See Also:interloper n.Syn.trespass
(คีพ) { kept, kept, keeping, keeps } v. เก็บ, สงวนไว้, กักขัง, ป้องกันรักษา, หน่วงเหนี่ยว, ธำรงไว้, ผดุงไว้, กักตัว, ดำเนินกิจการ, ยังคงเป็นอยู่ การรักษาไว้, การสนับสนุน, ตัวตึกที่แข็งแรงที่สุดของปราสาทสมัยกลาง, ส่วนที่แข็งแกร่ง แน่นหนาที่สุด, คุก. -Phr. (forkeeps ด้วยควา
หมึกแม่เหล็กเป็นหมึกพิเศษชนิดหนึ่ง มีสารแม่เหล็กเป็นส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านตัวอักษรที่พิมพ์ด้วยหมึกชนิดนี้ได้ และจะแยกได้ว่ามีข้อความใดบ้าง โดยใช้คุณสมบัติของแม่เหล็ก หมึกแม่เหล็กชนิดนี้ มักใช้พิมพ์ในกิจการธนาคาร เช่น เลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค หรือแบบฟอร์มเบิกเงิน เป็นต้น
เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
(มาร์ค'คิท) n. ตลาด, การค้าขาย, กลุ่มคนที่กระทำกิจการซื้อขาย, การตลาด, ธุรกิจ, ความต้องการสินค้า, กลุ่มผู้ซื้อ, ราคาหรือค่าปัจจุบัน -Phr. (on the market สำหรับขายหาซื้อได้) vi. ซื้อหรือขายในตลาด. vt. วางตลาด, นำสู่ตลาด, ขายSee Also:marketability n.
(เมอ'เจอะ) n. การรวมตัวของหน่วยงานธุรกิจการค้าเป็นหน่วยเดียวกับSyn.combine
(เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น
(ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการSyn.working, act, maneuver
(ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S...
(แพส'เชอะริจ) n. ทุ่งเลี้ยงสัตว์, หญ้าสำหรับสัตว์ กิจการเลี้ยงสัตว์
(เพอฟูม'เมอรี) n. เครื่องหอม, การผลิตเครื่องหอม, ธุรกิจการขายเครื่องหอม, สถานที่ประกอบธุรกิจเครื่องหอม, ร้านขายเครื่องหอม
(พลัม'บิง) n. การทำท่อน้ำ, กิจกรรมหรือธุรกิจการทำท่อน้ำ, การหยั่งความลึกด้วยลูกดิ่ง
(แพรค'ทิส) n. การปฏิบัติ, การดำเนิน, กิจวัตร, กิจการ, พิธีการ, การฟ้องร้อง, ความเป็นจริง, การวางแผน, เล่ห์. vt., vi. ปฏิบัติ, ประกอบพิธี, ฟ้องร้อง, ฝึกหัด.See Also:practicer n.Syn.operation
(เพรส'เมิน) n. นักหนังสือพิมพ์, ช่างพิมพ์, ผู้ทำธุรกิจการพิมพ์, ช่วงแท่นพิมพ์
(พริน'เทอรี) n. โรงพิมพ์, กิจการพิมพ์
(พริน'ทิง) n. ศิลปะกระบวนการหรือธุรกิจการพิมพ์, การพิมพ์, สิ่งตีพิมพ์, จำนวนพิมพ์
n. การทำธุรกิจหรือกิจการส่วนตัว
n. การบริการสาธารณะ, การบริหารประชาชน, กิจการของข้าราชการ
n. กิจการที่เกี่ยวกับสาธารณูปโภค, สาธารณูปโภคSee Also:public-utility, adj.
(พับ'ลิชชิง) n. กิจการพิมพ์, กิจ-การของผู้พิมพ์ผู้โฆษณา, กิจการของสำนักพิมพ์
(รีไท'อะรี) n. ผู้ปลดเกษียณ, ผู้เลิกกิจการ
(ซี'แฟริง) adj. เกี่ยวกับชาวเรือ, เกี่ยวกับการเดินเรือ, เกี่ยวกับการเดินทางในท้องทะเล. n. การเดินเรือทะเล, ธุรกิจการเดินเรือทะเล, อาชีพกลาสีเรือ
(เซท'เทิลเมินทฺ) n. การจัดการ, การแก้ปัญหา, การชำระหนี้, การชำระบัญชี, การตั้งถิ่นฐาน, การตั้งรกราก, การตั้งหลักฐาน, การตั้งกิจการ, นิคม, อาณานิคม, ชุมชน, การมอบทรัพย์สิน, ทรัพย์สิน, กองทุน, ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย, การค่อย ๆ จมลง
(ชิพ'พิง) n. การขนส่ง, การลำเลียง, การขนส่งทางเรือทะเล, การเดินเรือ, ธุรกิจการเดินเรือ, จำนวนเรือ (โดยเฉพาะเรือสินค้า) , จำนวนตันของเรือ
(โช) vt., vi. แสดง, นำออกแสดง, เผยให้เห็น, นำออกฉาย, แสดงตัว, พิสูจน์ให้เห็น, บอก, อธิบาย, นำไปดู, บอกให้รู้, ชี้, อวด, อวดฝีมือ, ให้, ประทานให้, ให้ดู -Phr. (show off อวดโอ้อวด) n. การแสดง, เรื่องราว, ร่องรอย, แร่ที่ปรากฎให้เห็น. -Phr. (run the show ควบคุมกิจการหรือสถานการณ์)
Nontri Dictionary
(n)กิจธุระ, กิจการ, ความบากบั่น, วิสาหกิจ, บริษัท, งาน
(n)ธุรกิจ, กิจ, กิจการ, การใช้ไปทำธุระ
(n)การปิดโรงงาน, การปิดกิจการ
(n)การปลดเกษียณ, การลาออก, การเลิกกิจการ, การปลดประจำการ
(n)การค้าขาย, การซื้อขาย, ธุรกิจการค้า, ตลาด
(n)การดูแลกิจการของผู้อื่น, การพิทักษ์, การปกครอง
(n)ภาระ, ธุระ, การจัดงานศพ, งาน, กิจการ
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)ธุรกิจการเกษตร
กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน
(n)กิจการที่เกี่ยวกับการทำถังไม้ เช่น ถังไม้โอ๊คสำหรับบ่มไวน์ หรือสถานที่สำหรับดำเนินการดังกล่าว หรือสิ่งที่ช่างทำถัง (COOPER) ทำออกมา อ่านว่า คูป-เปอร์-ริจ
(n)กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
(n)การเลิกกิจการ
ศาลฟื้นฟูกิจการ
ครอบงำกิจการ
(n)กิจการประกันภัยหรือซื้อขายหุ้น, การลงนามท้ายเอกสาร
(vt)เลิกกิจการ
Longdo Approved JP-TH
[きぎょう, kigyou](n)ธุรกิจ, กิจการ, บริษัท
[とうさん, tousan](vt)ปิดกิจการ
[ばいしゅう, baishuu](n)การซื้อ(เพื่อรวมกิจการ)
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
閉鎖
[へいさ, heisa](n)การปิด, การเลิกกิจการ
合弁企業
[ごうべんきぎょう, goubenkigyou](n)กิจการร่วมทุน, บริษัทร่วมทุ่น
関係会社
[かんけいがいしゃ, kankeigaisha]กิจการที่เกี่ยวข้อง
一部事業組合
[いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai](n, name)สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ
Saikam JP-TH-EN Dictionary
公社
[こうしゃ, kousha] TH: กิจการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ
営む
[いとなむ, itonamu] TH: ดำเนินกิจการ
営む
[いとなむ, itonamu] EN: to run a business
賑わう
[にぎわう, nigiwau] TH: กิจการคึกคัก
賑わう
[にぎわう, nigiwau] EN: to do thriving business
事業
[じぎょう, jigyou] TH: กิจการ
経済
[けいざい, keizai] TH: ธุรกิจการค้า
経済
[けいざい, keizai] EN: business
企業
[きぎょう, kigyou] TH: กิจการ
企業
[きぎょう, kigyou] EN: undertaking
Longdo Approved DE-TH
(n)|der, pl. Unternehmen| บริษัท, กิจการ, ธุรกิจ
(n)|der, pl. Unternehmer| นักลงทุนทางการเงิน, ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุนSee Also:Related: die Unternehmerin, unternehmen
(n)|der, pl. Zinsen| ดอกเบี้ย เช่น Die Bank lebt von den Zinsen. ธนาคารดำเนินกิจการอยู่ได้ด้วยดอกเบี้ย
Longdo Approved FR-TH
(n)|f| บริษัท, กิจการ, อุตสาหกิจ
(n)n.f. 1)กิจการงาน, ธุระ เช่น être à son affaire = พึงพอใจในงานของตน (สำนวน) 2) บริษัท
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ