น. อาหารซึ่งปรกติใช้กินพร้อมข้าว.
ก. จัดหาข้าวปลาอาหารมาเลี้ยงดู, ทอดข้าว ก็เรียก.
กระบะสำหรับใส่กับข้าว เช่น ร่วมกระพอกจอกจานร้านเรือนเดียว (สุ. สอนเด็ก)
(กับปี) น. กับข้าว (ใช้เฉพาะภิกษุสามเณร), มักใช้เข้าคู่กับคำ จังหัน ว่า กัปปีย์จังหัน.
น. กับข้าวประเภทที่เป็นนํ้า มีชื่อต่าง ๆ ตามวิธีปรุงและเครื่องปรุง เช่น แกงจืด แกงเผ็ด แกงส้ม. (ดูที่คำนั้น ๆ ).ก. ทำกับข้าวประเภทที่เป็นแกง.
น. กับข้าวที่ปรุงเป็นนํ้า รสไม่เผ็ด.
(ขะหฺนม) น. ของกินที่ไม่ใช่กับข้าว มักปรุงด้วยแป้งหรือข้าวกับกะทิหรือนํ้าตาล, ของหวาน, ทางเหนือเรียกว่า ข้าวหนม.
น. ของกินที่ประกอบด้วยเนื้อสัตว์, กับข้าว.
น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง มีข้าวสุกขัดแช่นํ้าเย็น กินกับเครื่องกับข้าวต่าง ๆ.
น. ข้าวต้ม กินกับกับข้าวเช่นเกี่ยมฉ่าย ไข่เค็ม.
น. ข้าวเหนียวนึ่งอัดใส่ถาดโรยถั่วทอง ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มักกินกับข้าวหมาก
(คฺรัว) น. โรง เรือน หรือห้องสำหรับทำกับข้าวของกิน, เรียกผู้ที่กินอยู่ร่วมครอบครัวเดียวกัน ว่า ครัว หรือ ครัวเรือน.
ว. ข้ามคืน เช่น กับข้าวค้างคืน หมักของไว้ค้างคืน.
เรียกกับข้าว ว่า ของคาว, คู่กับ ขนม ว่า ของหวาน.
น. ชื่อกับข้าวชนิดหนึ่งคล้ายห่อหมก ห่อด้วยใบไม้ มีใบตองเป็นต้น แล้วปิ้งไฟ. ก. ปรุงอาหารด้วยวิธีเช่นนั้น.
ก. เอาออกใช้หรือให้ เช่น จ่ายเครื่องแบบ, โดยปริยายหมายความว่า ซื้อ ก็มี เช่น จ่ายกับข้าว.
น. อาหารอย่างหนึ่ง ทำด้วยปลาเล็ก ๆ หมักเกลือกับข้าวคั่ว อย่างเดียวกับปลาจ่อม ใช้เป็นเครื่องจิ้ม, จุ้งจัง ก็ว่า.
น. อาหารอย่างหนึ่ง ทำด้วยปลาเล็ก ๆ หมักเกลือกับข้าวคั่ว อย่างเดียวกับปลาจ่อม ใช้เป็นเครื่องจิ้ม, จิงจัง หรือ จิ้งจัง ก็ว่า.
น. กับข้าวอย่างหนึ่ง มีปลาทอดแล้วปรุงด้วยเครื่องต่าง ๆ เรียกว่า ปลาเจี๋ยน.
น. ช้อนที่วางอยู่ในจานกับข้าว สำหรับตักกับข้าวมาใส่จานของตน.
ก. ตระหนกตกใจไปกับข่าวหรือคำเล่าลือ.
ก. ประทัง, พอถูไถ, ชดเชย, เช่น ขายขวดได้เงินมาพอตู๊เป็นค่ากับข้าว.
ก. จัดหาข้าวปลาอาหารมาเลี้ยงดู, ทอดสำรับ หรือ ทอดสำรับกับข้าว ก็เรียก.
น. นํ้าที่คั้นออกจากมะพร้าวขูด, นํ้าที่คั้นจากมะพร้าวขูดที่ผสมนํ้าตาลปึกกินกับข้าวเหนียวหรือลอดช่องเป็นต้น เช่น ข้าวเหนียวนํ้ากะทิ ลอดช่องนํ้ากะทิ.
น. น้ำที่ได้จากปลาหมักจนเปื่อย ต้มสุกแล้วปรุงรส มี ๒ ชนิด คือ บูดูแบบเค็ม เป็นเครื่องจิ้มกับผักสด และบูดูแบบหวาน สำหรับคลุกกับข้าวยำปักษ์ใต้.
น. ชื่อกับข้าวอย่างหนึ่ง เอาเนื้อปูผสมเครื่องกับไข่แล้วใส่กระดองปูนึ่งหรือทอด.
กับข้าวที่ไม่ใช่แกง, คู่กับ สูปะ ซึ่งหมายถึง แกง. (ป. พฺยญฺชน, วฺยญฺชน; ส. วฺยญฺชน)
น. กับข้าวชนิดหนึ่งเอามะพร้าวตำจนมีนํ้ามันออกมา ใส่เกลือกับนํ้าตาล มีรสหวานเค็ม, เครื่องจิ้มผลไม้เปรี้ยวเป็นต้น ทำด้วยพริก เกลือ และน้ำตาล.
(พฺล่า) น. เครื่องกับข้าวชนิดหนึ่ง คล้ายยำ มักใช้เนื้อดิบ ทำให้สุกด้วยของเปรี้ยวเช่นมะนาว.
ว. เรียบ ๆ เช่น งามอย่างพื้น ๆ คือ งามอย่างเรียบ ๆ ไม่ฉูดฉาด ดีอย่างพื้น ๆ คือ ดีอย่างเรียบ ๆ ไม่โลดโผน, ธรรมดา ๆ เช่น กับข้าวพื้น ๆ.
น. ชื่อกับข้าวชนิดหนึ่งทำด้วยไข่นึ่งเป็นชิ้น ๆ.
ก. เอากะทิเคล้ากับข้าวเหนียวเพื่อให้มัน.
น. ของกินอย่างหนึ่ง ใช้ใบผักกาดดองห่อไส้เป็นคำ ๆ ไส้ทำด้วยหมูสับผัดเคล้ากับกุ้งแห้งป่น ถั่วลิสงตำ ขิง น้ำส้มมะขาม น้ำตาล น้ำปลา ปรุงให้มีรสหวานนำ เค็มตาม และเปรี้ยวนิดหน่อย แล้วตักขึ้นเคล้าด้วยหอมเจียวกระเทียมเจียว กินกับข้าวตังทอดหรือข้าวเกรียบกุ้งทอด.
น. ชื่อกับข้าวอย่างหนึ่งที่ปรุงโดยเอาผักและเนื้อสัตว์เป็นต้นมาเคล้าเข้าด้วยกัน เช่น ยำเนื้อ ยำเล็บมือนาง ยำปลากรอบ.
ก. คงที่อยู่เสมอ, คงยึดหลักหรือแบบเสมอ, เช่น กับข้าวไทยมีน้ำพริกยืนพื้น.
ว. อาการที่ทิ้งไว้นานโดยไม่ใส่ใจ เช่น กับข้าวทิ้งแรไว้บนโต๊ะไม่มีคนกิน ของวางแรไม่มีคนซื้อ, แล ก็ว่า.
ก. เริ่มทำ, ตั้งต้นทำ, เช่น ลงมือกินได้, ทำ เช่น กับข้าววันนี้ฉันลงมือเอง งานนี้เธอลงมือเองเชียวหรือ.
น. ผู้ทำการตามคำแนะนำของหัวหน้า เช่น ลูกมือทำกับข้าว.
ว. อาการที่ทิ้งไว้นานโดยไม่ใส่ใจ เช่น กับข้าวทิ้งแลไว้บนโต๊ะไม่มีคนกิน ของวางแลไม่มีคนซื้อ, แร ก็ว่า
ก. ไม่เอาเป็นธุระ, หยุดหรือเลิกการงานที่ทำอยู่ชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น วางมือจากทำสวนไปทำกับข้าว วางมือจากการเป็นครู.
(-เสด) น. ผู้ทำกับข้าวของหลวง.
น. อาหารทำด้วยปลาสับละเอียดผสมกับข้าวสุกหมักเกลือ กระเทียม โขลกจนเหนียวแล้วห่อใบตองทับเอาไว้จนมีรสเปรี้ยว.
(-สะเหฺลา) ก. สลักให้เป็นลวดลายเรียบร้อยสวยงาม เช่น เสียเวลานั่งสลักเสลาผักครึ่งวันกว่าจะได้ลงมือทำกับข้าว สลักเสลาเสาหินเป็นลายเทพนม.
ว. อย่างยิ่ง เช่น กับข้าววันนี้อร่อยสะเด็ด.
(สาระนิเทด) น. การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ.
ก. วุ่นอยู่กับการงาน เช่น มัวสาละวนอยู่กับการเย็บเสื้อจนลืมทำกับข้าว.
บ. เพื่อ เช่น ของสำหรับถวายพระ วันนี้ฉันทำกับข้าวเป็นพิเศษสำหรับเธอ.
(สูทะ-) น. การทำกับข้าวของกิน.
(สูทะ-) น. วิชาทำกับข้าว.