วิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
(อาดเรม' แอดเรม') L. ซึ่งเกี่ยวข้อง, โดยตรง (relevant, pertinent)
(แอมมิโท' ซิส) n. วิธีการแบ่งเซลล์โดยตรง มีลักษณะที่มีการแบ่งตัวนิวเคลียส์ โดยไม่เกิดโครโมโซม. -amitotic adj.
ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU)
(แบง) { banged, banging, bangs } n. เสียงระเบิด, การทุบอย่างแรง, การชนหรือกระทบอย่างแรง, การเคลื่อนไหวทันที, ความยินดีอย่างกะทันหัน, การร่วมเพศ vt., vi. กระทบหรือตีอย่างแรงหรือดัง adj. ดังตูม, ดังฉับพลัน, โดยตรง, ถูกต้อง, Syn.wallop
(แดสดี) ย่อมาจาก direct access storage device (แปลว่า อุปกรณ์หน่วยเก็บแบบเข้าถึงโดยตรง) หมายถึงสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง (direct access) หรือทันที ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะถูกบันทึกไว้ในส่วนใด เช่น จานบันทึก (disk) ดู direct access ประกอบ
(ไดค'ทิค) adj. เป็นการพิสูจน์โดยตรง, ซึ่งแสดงถึง, ชี้เฉพาะ (proving directly)
adj. เกี่ยวกับเส้นผ่าศูนย์กลาง, โดยตรง, สมบูรณ์, แน่นอน, เด็ดขาด.
(ดิเรคทฺ', ไดเรคทฺ') v. ชี้ทาง, นำทาง, ชี้แนว, แนะแนว, ควบคุม, อำนวยการ, บัญชาการ, จ่าหน้าซอง, มุ่งส่ง, เล็ง, บ่าย adj., adv. โดยตรง, เปิดเผย, แน่นอน, เด็ดขาด, See Also:directness n., Syn.control, straight, candid
การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ