170 ผลลัพธ์ สำหรับ 

machine

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: -machine-, *machine*
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)เครื่องจักรSee Also:เครื่องยนต์, กลไกSyn.device, engine
(n)คณะหรือกลุ่มที่ทำหน้าที่ควบคุมโดยตรง (โดยเฉพาะทางการเมือง)See Also:องค์กรที่เป็นกลไกสำคัญSyn.party, gang, system
(n)ระบบการปฎิบัติงาน
(n)โครงสร้างSee Also:ระบบปฎิบัติงาน
(n)ปืนกล
(n)น้ำมันสำหรับหยอดเครื่องจักร
(vt)ยิงปืนกล
(adj)เหมือนเครื่องจักรSyn.mechanical
(n)ภาษาคอมพิวเตอร์
Hope Dictionary
(มะชีน') n. เครื่องจักร, เครื่อง, จักร, อุปกรณ์, ระบบที่ซับซ้อน, ระบบการทำงาน, การปฏิบัติงาน, กิจกรรมของพรรคหรือองค์การ. vt. กระทำด้วยเครื่อง, เตรียมด้วยเครื่อง.
ปืนกล
ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้
(มะชีน'กัน) vt. ยิงด้วยปืนกล.See Also:machine-gunner n. ผู้ยิงด้วยปืนกล
(มะชีน'นะรี) n. เครื่องจักร, เครื่องกล, กลุ่มเครื่องกล, ระบบ,
เครื่องบวกเลข
เครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ <คำแปล>นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
n. เครื่องสาง, เครื่องหวี
n. ไตเทียม
n. ปืนกลเบา มีขนาดลำกล้องไม่มากกว่า.30 นิ้ว
Nontri Dictionary
(n)เครื่องจักรกล, เครื่องยนต์
(n)ปืนกล
(n)เครื่องจักรกล, เครื่องยนต์กลไก, เครื่องมือ, อุปกรณ์
(n)เครื่องซักผ้า
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
ตัวจักร, เครื่องจักร[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. เครื่องกล๒. เครื่องจักร๓. -กล[พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
เลขที่อยู่สัมบูรณ์[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รหัสเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ computer code และ machine instruction code ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
รอบของเครื่อง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
ความผิดพลาดของเครื่อง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ instruction ๒ ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ instruction ๒ ][เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
รหัสคำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ computer code และ machine code ][คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
การขัดจังหวะเครื่อง[คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เครื่อง[คอมพิวเตอร์]
เครื่องกล, เครื่องจักร, อุปกรณ์ที่ให้ความสะดวก หรือช่วยผ่อนแรงในการทำงาน เช่น รอก แม่แรง เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รหัสเครื่อง[คอมพิวเตอร์]
การออกแบบเครื่องจักรกล[TU Subject Heading]
คำสั่งเครื่อง[คอมพิวเตอร์]
การเรียนรู้ของเครื่อง[TU Subject Heading]
การจัดการด้านเครื่องมือ[การแพทย์]
ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล[TU Subject Heading]
การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้Example:MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
โรงปฏิบัติงานเครื่องจักรกล[TU Subject Heading]
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปรับให้ปั๊มอย่างอื่นด้วยคงได้Schindler's List (1993)
เค้าเก่งระดับท้อปของชั้นเลยนะที่ มหาลัยกฏหมายโซลน่ะHero (1992)
อา นายนี่มันน่าทึ่งจริงๆ ไอ้หนูThe Lawnmower Man (1992)
คุณสัญญาว่าจะพาฉันเข้าเมือง แต่กลับมาคลุกอยู่กับเจ้าเครื่องนี่The Lawnmower Man (1992)
ฉันจะบอกว่า มือนายติดอยู่ในเครื่องจักรOf Mice and Men (1992)
มือเขาติดอยู่ในเครื่องจักรOf Mice and Men (1992)
มือเขาติดอยู่ในเครื่องจักรOf Mice and Men (1992)
มือเขาติดอยู่ในเครื่องจักรOf Mice and Men (1992)
เขาปิดร.ง.ส่งเรากลับเอาซวิดซ์ได้Schindler's List (1993)
เป็นไง หลวงพ่อ หลวงพ่อSchindler's List (1993)
เมื่อคุณค่าของมนุษย์นั้นสูงมากกว่า เพื่อที่จะสร้างเครื่องจักรดีๆซักเครื่อง ?Squeeze (1993)
หวัดดี เครื่องรับตัดไปอีกแล้ว ต่อเลยนะThe One Where Monica Gets a Roommate (1994)
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)machine languageExample:ข้อเสียของภาษาเครื่องคือ ภาษาของแต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกัน ทั้งนี้แล้วแต่การออกแบบระบบเครื่องว่าจะเป็นแบบใดThai Definition:ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและขึ้นบนจอภาพได้โดยตรง
(n)tractorSee Also:machine for lowing fieldExample:ปัจจุบันมีการใช้ควายเหล็กในการไถนาเป็นส่วนใหญ่Thai Definition:ยานยนต์ขับเคลื่อนที่มีกำลังมาก ใช้ลากไถแทนกำลังของสัตว์
(n)machine translation system
(n)machinerySee Also:machine, engine, motorExample:มนุษย์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปผลิตเครื่องยนต์กลไกที่จะให้ความสะดวกสบายกับตัวเอง
(n)machinerySee Also:machine, engine, motor, mechanical deviceSyn.เครื่องกลไก, เครื่องจักรกล, เครื่องจักร, เครื่องยนต์Example:ร่างกายของมนุษย์เรานั้นเปรียบเสมือนเครื่องกลชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสูงUnit:เครื่องThai Definition:เครื่องมือที่อำนวยความสะดวกในการส่งถ่ายแรงจากจุดหนึ่งเพื่อไปใช้ทำประโยชน์ในการเอาชนะความต้านทาน ณ จุดอื่นได้ เช่น รอก คาน ลิ่ม
(n)machinerySee Also:machine, engine, motor, mechanical deviceSyn.เครื่องยนต์, เครื่องกล, เครื่องยนต์กลไกExample:เครื่องของรถคันสีขาวไม่ค่อยดีเท่าไรควรนำไปซ่อมบำรุงได้แล้วUnit:เครื่อง
(n)machinerySee Also:machine, engine, motor, mechanical deviceSyn.เครื่องกล, เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เครื่องจักรกลExample:ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของละครดึกดำบรรพ์คือการจัดฉากให้สมจริงและใช้เครื่องกลไกประกอบการจัดฉากนั้นUnit:เครื่อง
(n)machinerySee Also:engine, machine, motorSyn.เครื่องยนต์, เครื่องกล, เครื่องจักรกลExample:เราลงทุนซื้อเครื่องจักรมาเพื่อทำการผลิตให้รวดเร็วและทันสมัยมากขึ้นUnit:เครื่องThai Definition:กลอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องเพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
(n)machinerySee Also:machine, engine, motorSyn.เครื่องจักร, เครื่องกล, เครื่องยนต์Example:การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มต้นด้วยการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องจักรกลเข้ามาขยายแรงงานUnit:เครื่องThai Definition:กลอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องเพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[chinsuan khøng khreūangjak] (n, exp) EN: machine part
[dītphim] (v, exp) FR: taper à la machine
[doēnjak] (v) EN: sew with a machine  FR: coudre à la machine
[jak] (n) EN: machine ; mechanism ; machinery  FR: machine [ f ] ; mécanisme [ m ]
[jak] (n) EN: sewing machine  FR: machine à coudre [ f ]
[jak yep phā] (n, exp) EN: sewing machine  FR: machine à coudre [ f ]
[kān plaē phāsā dūay khømphiūtoē] (n, exp) EN: machine translation
[khopkhit] (v) EN: conspire ; intrigue ; connive ; plot  FR: conspirer ; comploter ; intriguer ; machiner ; manigancer
[khrēn] (n) EN: crane ; lifting machine  FR: grue [ f ] ; bigue [ f ] ; chèvre [ f ]
[khreūang] (n) EN: engine ; machine ; mechanism ; mechanical device ; machinery ; motor  FR: machine [ f ] ; mécanisme [ m ]
WordNet (3.0)
(n)any mechanical or electrical device that transmits or modifies energy to perform or assist in the performance of human tasks
(n)an efficient person
(n)an intricate organization that accomplishes its goals efficiently
(n)a device for overcoming resistance at one point by applying force at some other pointSyn.simple machine
(n)a group that controls the activities of a political partySyn.political machine
(v)turn, shape, mold, or otherwise finish by machinery
(v)make by machinery
(adj)stored in, controlled by, or in direct communication with a central computerSyn.connected
(n)a bolt with a square or hexagonal head on one end and a threaded shaft on the other end; tightened with a wrench; used to connect metal parts
(n)a set of instructions coded so that the computer can use it directly without further translationSyn.machine language
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

v. t. [ imp. & p. p. Machined p. pr. & vb. n. Machining. ] To subject to the action of machinery; to make, cut, shape, or modify with a machine; to effect by aid of machinery; to print with a printing machine. [ 1913 Webster ]

n. [ F., fr. L. machina machine, engine, device, trick, Gr. mhchanh`, from mh^chos means, expedient. Cf. Mechanic. ] 1. In general, any combination of bodies so connected that their relative motions are constrained, and by means of which force and motion may be transmitted and modified, as a screw and its nut, or a lever arranged to turn about a fulcrum or a pulley about its pivot, etc.; especially, a construction, more or less complex, consisting of a combination of moving parts, or simple mechanical elements, as wheels, levers, cams, etc., with their supports and connecting framework, calculated to constitute a prime mover, or to receive force and motion from a prime mover or from another machine, and transmit, modify, and apply them to the production of some desired mechanical effect or work, as weaving by a loom, or the excitation of electricity by an electrical machine. [ 1913 Webster ]

☞ The term machine is most commonly applied to such pieces of mechanism as are used in the industrial arts, for mechanically shaping, dressing, and combining materials for various purposes, as in the manufacture of cloth, etc. Where the effect is chemical, or other than mechanical, the contrivance is usually denominated an apparatus or device, not a machine; as, a bleaching apparatus. Many large, powerful, or specially important pieces of mechanism are called engines; as, a steam engine, fire engine, graduating engine, etc. Although there is no well-settled distinction between the terms engine and machine among practical men, there is a tendency to restrict the application of the former to contrivances in which the operating part is not distinct from the motor. [ 1913 Webster ]

2. Any mechanical contrivance, as the wooden horse with which the Greeks entered Troy; a coach; a bicycle. Dryden. Southey. Thackeray. [ 1913 Webster ]

3. A person who acts mechanically or at the will of another. [ 1913 Webster ]

4. A combination of persons acting together for a common purpose, with the agencies which they use; as, the social machine. [ 1913 Webster ]

The whole machine of government ought not to bear upon the people with a weight so heavy and oppressive. Landor. [ 1913 Webster ]

5. A political organization arranged and controlled by one or more leaders for selfish, private or partisan ends; the Tammany machine. [ Political Cant ] [ 1913 Webster ]

6. Supernatural agency in a poem, or a superhuman being introduced to perform some exploit. Addison. [ 1913 Webster ]


Elementary machine, a name sometimes given to one of the simple mechanical powers. See under Mechanical. --
Infernal machine. See under Infernal. --
Machine gun.See under Gun. --
Machine screw, a screw or bolt adapted for screwing into metal, in distinction from one which is designed especially to be screwed into wood. --
Machine shop, a workshop where machines are made, or where metal is shaped by cutting, filing, turning, etc. --
Machine tool, a machine for cutting or shaping wood, metal, etc., by means of a tool; especially, a machine, as a lathe, planer, drilling machine, etc., designed for a more or less general use in a machine shop, in distinction from a machine for producing a special article as in manufacturing. --
Machine twist, silken thread especially adapted for use in a sewing machine. --
Machine work, work done by a machine, in contradistinction to that done by hand labor.
[ 1913 Webster ]

n. A threaded hexagonal or square-headed bolt with a nut; it is tightened with a wrench and used to connect metal parts. [ WordNet 1.5 ]

n. (Computers) Same as machine language. [ WordNet 1.5 ]

adj. same as automated.
Syn. -- automated. [ WordNet 1.5 ]

a. Occurring in rapid succession, like the firing of a machine gun; as, Tom was a persuasive speaker, with a smooth deep voice, polysyllabic vocabulary, and a machine-gun articulation that overwhelmed listeners.
Syn. -- rapid-fire. [ PJC ]

n. A fully automatic rapid-firing rifle, which continues to fire bullets repeatedly as long as the trigger is depressed; lighter versions may be carried in the hands, and heavier versions may be mounted on a tripod, vehicle, or other mount. The lighweight versions are sometimes called a submachine gun. [ PJC ]

n. A soldier who operates a machine gun. [ PJC ]

n. (Computers) a set of instructions{ 3 } in a binary form that can be executed directly by the CPU of a computer without translation by a computer program.
Syn. -- machine code, binary code. [ WordNet 1.5 +PJC ]

adj. behaving in an unthinking manner, like the functioning of a machine; as, machine-like fools.
Syn. -- automatic, automaton-like, automatonlike, machinelike, robotlike. [ WordNet 1.5 ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[ / , , ㄐㄧ]machine; opportunity; secret#192[Add to Longdo]
[  /  , jī zhì, ㄐㄧ ㄓˋ]machine processed; machine made; mechanism#1023[Add to Longdo]
[  /  , jī xiè, ㄐㄧ ㄒㄧㄝˋ]machine; machinery; mechanical#2684[Add to Longdo]
[  /  , jī qì, ㄐㄧ ㄑㄧˋ]machine#3651[Add to Longdo]
[ , jī diàn, ㄐㄧ ㄉㄧㄢˋ]machinery and power-generating equipment#9409[Add to Longdo]
[  /  , jī chuáng, ㄐㄧ ㄔㄨㄤˊ]machine tool; a lathe#12336[Add to Longdo]
[  /  , jī qiāng, ㄐㄧ ㄑㄧㄤ]machine gun#13276[Add to Longdo]
[  /  , mǔ jī, ㄇㄨˇ ㄐㄧ]machine tool; mother ship#73459[Add to Longdo]
[    /    , jī qì fān yì, ㄐㄧ ㄑㄧˋ ㄈㄢ ㄧˋ]machine translation#81905[Add to Longdo]
[  /  , bèi pǐn, ㄅㄟˋ ㄆㄧㄣˇ]machine parts or tools kept in reserve; spare parts[Add to Longdo]
DING DE-EN Dictionary
Apparateraum { m }
machine room; mechanical room[Add to Longdo]
Gerätesicherheitsgesetz { n }
Machine Safety Code[Add to Longdo]
Konstruktionselement { n }
machine element[Add to Longdo]
Kopfschraube { f } (Maschinenkopfschraube mit/ohne Mutter) [ techn. ]
machine screw[Add to Longdo]
Maschine { f } | Maschinen { pl } | elektrische Maschinen | elektrische Maschinen und Anlagen | Maschine mit Autokorrekturfunktion
machine | machines | electrical machines | electrical machines and devices | self-correcting machine[Add to Longdo]
Maschinenadresse { f } [ comp. ]
machine address[Add to Longdo]
Maschinenbauer { m }; Maschinenbauerin { f }
machine builder[Add to Longdo]
Maschinenbefehl { m } [ comp. ]
machine code instruction; computer instruction[Add to Longdo]
Maschinendatenerfassung { f }
machine data logging[Add to Longdo]
Maschineneinsatz { m }
machine employment[Add to Longdo]
Maschinengenauigkeit { f } [ math. ]
machine accuracy[Add to Longdo]
Maschinengewindebohrer { m }
machine tap[Add to Longdo]
Maschinenkonfiguration { f }
machine configuration[Add to Longdo]
Maschinenmesstechnik { f }
machine measurement[Add to Longdo]
Maschinenprogramm { n }
machine program[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[かた(P);がた, kata (P); gata](n) (1) model; type (e.g. of machine, goods, etc.); (2) (がた when a suffix) (See 朝型) type; style; pattern; (3) mold (mould); template; model; (4) kata (standard form of a movement, posture, etc. in martial arts, sport, etc.); (5) form (i.e. customary procedure); (6) size (i.e. clothing, shoes); (7) (obsc) (See 品種) (taxonomical) form; (P)#203[Add to Longdo]
[はた, hata](n) (1) chance; opportunity; (2) machine; (3) aircraft; (ctr) (4) counter for aircraft; (5) counter for remaining lives (in video games)#270[Add to Longdo]
[せっち, secchi](n, vs) (1) establishment; institution; (2) installation (of a machine or equipment); (P)#482[Add to Longdo]
[だい, dai](n, n-suf) (1) stand; rack; table; (2) support; (3) belt; (ctr) (4) counter for machines, incl. vehicles; (n) (5) setting (e.g. in jewellery); (n, n-suf, ctr) (6) (See 代・だい・2, 代・だい・6) level (e.g. price level); range (e.g. after physical units); period (of time, e.g. a decade of one's life); (P)#686[Add to Longdo]
[きかい, kikai](n) (1) machine; mechanism; (2) (often 器械) instrument; appliance; apparatus; (P)#1604[Add to Longdo]
[きき, kiki](n) machinery and tools; (P)#2088[Add to Longdo]
[mashin (P); mashi-n (P)](n) machine; (P)#3323[Add to Longdo]
[ほんたい, hontai](n, adj-no) (1) substance; real form; (2) body (of a machine); (3) object of worship (at a shrine, temple, etc.); (4) noumenon; (P)#3407[Add to Longdo]
[みみ, mimi](n) (1) ear; (2) hearing; (3) edge; crust; (4) selvedge (non-fray machined edge of fabrics); selvage; (P)#3627[Add to Longdo]
[かどう, kadou](n, vs) operation (of machine); actual work; (P)#6543[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[アソシエーションせいぎょプロトコルきかい, asoshie-shon seigyo purotokoru kikai]Association Control Protocol Machine[Add to Longdo]
[きゃっしゅこーな, kyasshuko-na]automatic teller machine[Add to Longdo]
[コピーきき, kopi-kiki]copier, copy machine[Add to Longdo]
[せしょんぷろとこるきかい, seshonpurotokorukikai]session protocol machine, SPM[Add to Longdo]
[チャネルぷろとこるきかい, chaneru purotokorukikai]channel protocol machine, CPM[Add to Longdo]
[データしょりきかい, de-ta shorikikai]data processing machine[Add to Longdo]
[とらんざくしょんしょりぷろとこるきかい, toranzakushonshoripurotokorukikai]Transaction Processing Protocol Machine, TPPM[Add to Longdo]
[ぷろとこるきかい, purotokorukikai]Protocol Machine, PM[Add to Longdo]
[ほすとましん, hosutomashin]host machine[Add to Longdo]
[マシンがよみとりかのう, mashin gayomitorikanou]machine-readable (an)[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ