116 ผลลัพธ์ สำหรับ 

-coreference-

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: coreference, *coreference*
ค้นหาอัตโนมัติโดยใช้reference
WordNet (3.0)
(n)the grammatical relation between two words that have a common referent
(n)the most direct or specific meaning of a word or expression; the class of objects that an expression refers toSyn.denotation, extension
(n)the act of referring or consultingSyn.consultation
(n)a publication (or a passage from a publication) that is referred toSyn.source
(n)the relation between a word or phrase and the object or idea it refers to
(v)refer toSyn.cite
(n)a book to which you can refer for authoritative factsSyn.reference, book of facts, reference work
(n)a pattern of horizontal and vertical lines that provide coordinates for locating points on an image or a map
(n)a manual containing information organized in a summary manner
(n)an indicator that orients you generallySyn.reference, point of reference
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)การอ้างอิงSee Also:การอ้างถึง
(n)เอกสารอ้างอิงSee Also:หนังสืออ้างอิง
(n)หนังสือรับรองSyn.recommendation
(n)หนังสืออ้างอิง
Hope Dictionary
(เรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การอ้างอิง, การอ้างถึง, หนังสืออ้างอิง, เครื่องหมายอ้างอิง, บุคคลที่อ้างถึง, ความสัมพันธ์, หลักฐาน, หลักฐานที่ผู้สมัครงานอ้างถึงSyn.mention, source
(เพรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การชอบมากกว่า, สิ่งที่ชอบมากกว่า, บุริมสิทธิ, สิทธิพิเศษ, การใช้สิทธิพิเศษSyn.partiality, choice
Nontri Dictionary
(n)ข้ออ้างอิง, การอ้างอิง, หนังสืออ้างอิง, หนังสืออุเทศ
(n)การชอบมากกว่า, ความสมัครใจ, การเลื่อนตำแหน่ง, บุริมสิทธิ์, สิทธิพิเศษ
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
๑. เอกสารอ้างอิง๒. การอ้างอิง, ข้ออ้างอิง๓. อ้างอิง[แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. การมอบคดีให้ทนายความที่ศาลตั้ง[รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
กรอบอ้างอิง[คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
ระดับอ้างอิง[ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
ระนาบอ้างอิง[ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
หนังสืออ้างอิง[เทคโนโลยีการศึกษา]
หนังสืออ้างอิงExample:<p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-reference-book-1.jpg" Title="Reference book" alt="Reference book"> <p>หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่มุ่งเสนอเรื่องราวความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ ในหลายสาขาวิชาอย่างกว้างขวาง แต่กระทัดรัด ผู้อ่านไม่จำเป็นต้องอ่านทั้งเล่มแต่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าเฉพาะเนื้อหาบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น โดยเป็นหนังสือที่เขียนและรวบรวมขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เนื้อหาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ ขณะที่รูปเล่มส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และหนากว่าหนังสือทั่วๆ ไป รวมถึงมีการพิมพ์ออกมาเป็นชุดๆ พร้อมทั้งมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาของผู้อ่าน เช่น การเรียงตามลำดับอักษร เหตุการณ์ เขตภูมิศาสตร์ หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังมีลักษณะพิเศษเพื่อความสะดวกในการค้นหาเนื้อหา เช่น อักษรนำเล่ม คำนำนาง ดัชนีหัวแม่มือ สารบัญ ดัชนี ส่วนโยง <p>ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ 2 ประเภทหลัก คือ เนื้อหาวิชา และ หน้าที่ <p>1. เนื้อหาวิชา คือ หนังสืออ้างอิงทั่วไป ที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดสาขาวิชา ซึ่งตรงข้ามกับหนังสืออ้างอิงเฉพาะสาขาวิชา ที่ให้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง <p>2. หน้าที่ คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงภายในเล่ม และ หนังสืออ้างอิงที่เป็นเครื่องชี้โยงไปหาข้อเท็จจริงในเล่มอื่น เช่น ดัชนีวารสารและบรรณานุกรม <p>หนังสืออ้างอิงประเภทต่างๆ <p>พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549. <p>สารานุกรม เช่น โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการ, 2548- <p>หนังสือรายปี เช่น สยามออลมาแนค : สารนิเทศและปูมปฎิทินการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และข้อมูลสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามบรรณ, 2527- <p>อักขรานุกรมชีวประวัติ เช่น คณะกรรมการรวบรวมและค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์ ฯลฯ ของพระบาทสม เด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. อักขรานุกรมนามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์, 2534. <p>นามานุกรม เช่น สีดา สอนศรี. นามานุกรมหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การระหว่างประเทศในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2528- <p>หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ เช่น Britannica Altas. Chicago : Encyclopedia Britannica, 1987. <p>หนังสือคู่มือ เช่น ทวี แก้วมณี, ธนญา ตรึงตราจิตกุล, ชัยยา ศรีอำไพ. หนังสือคู่มือมาตรฐานและการทดสอบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและคอมโพสิท สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2549. <p>ดัชนีวารสาร เช่น ธำรงค์ ชูทัพ, สุดาวรรณ เครือพานิช. ดัชนีวารสารการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2535. <p>บรรณานุกรม เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด. บรรณานุกรม ดร.ป๋วย. [ กรุงเทพฯ ] : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. หนังสืออ้างอิง. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/index.html (สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
หนังสืออ้างอิง[TU Subject Heading]
ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง, ดู  standard electrode[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงExample:การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิง (Reference interview) หมายถึง การหารายละเอียดจากผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อให้บรรณารักษ์ทราบแน่ชัดถึงความต้องการในการค้นคว้าของผู้ที่มาใช้บริการ เพื่อทราบพื้นความรู้ของลูกค้า และเพื่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงความสามารถในการใช้หนังสืออ้างอิงของผู้ที่มาใช้บริการ เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่เกิดขึ้นระหว่างบรรณารักษ์อ้างอิงและผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อตรวจสอบความต้องการข้อมูลของบุคคล ซึ่งอาจจะแตกต่างจากคำถามอ้างอิงที่ตั้งคำถามเป็นครั้งแรก เพราะผู้ใช้บริการอาจจะไม่พูดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพบกันแบบตัวต่อตัว ความอดทนและความสามารถในการติดต่อของบรรณารักษ์ เพื่อให้ผู้ใช้ให้รายละเอียดมากที่สุด การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงอาจเกิดขึ้นโดยทางโทรศัพท์หรือทางอิเล็กทรอนิกส์ (ผ่านทางอีเมล์) ตามคำร้องขอของผู้ใช้ <br> แต่บรรณารักษ์อ้างอิงที่ได้รับการฝึกอบรมดีแล้ว บางครั้งจะเป็นฝ่ายเริ่มต้นการสื่อสารถ้าผู้ใช้ลังเลที่จะขอความช่วยเหลือ การหารายละเอียดจากการสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงนี้ เพื่อให้ฝ่ายบรรณารักษ์ได้รับความกระจ่างมากพอที่จะสามารถหาคำตอบมาให้ผู้ใช้ได้ดีที่สุด[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าExample:Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บริการตอบคำถาม[เทคโนโลยีการศึกษา]
บริการตอบคำถาม[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
บริการตอบคำถาม[TU Subject Heading]
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n, phrase)หมายเลขอ้างอิง
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)referenceSee Also:documentationSyn.เอกสารอ้างอิงExample:นักวิจัยจำเป็นต้องใช้หนังสืออ้างอิงจำนวนมากในการทำวิจัยUnit:เล่มThai Definition:เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง
(n)allusionSee Also:referenceExample:สิ่งที่เขาพูดมาเป็นคำกล่าวอ้างที่ยกมาสนับสนุนพรรคพวกของตัวเองทั้งสิ้นThai Definition:คำอ้างถึงหรือระบุถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นหลัก
(n)referenceSee Also:baseSyn.คำอ้างอิงExample:ตามหลักจิตวิทยาวิธีการนี้ไม่สามารถนำมาเป็นข้ออ้างอิงได้Thai Definition:สิ่งที่ถือเป็นหลัก, สิ่งที่นำมากล่าวเป็นหลัก
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[āng-ing] (n) EN: reference  FR: référence [ f ] ; note [ f ]
[anukrom ekkasān] (n, exp) EN: reference number of a document ; serial number of a document  FR: référence de document [ f ]
[bukkhon āng-ing] (n, exp) EN: reference
[bukkhon thī āng theung] (n, exp) EN: reference
[burimmasit = burimasitthi] (n) EN: preferential right ; prior right ; preference
[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography
[hunburimmasit] (n, exp) EN: preference shares ; preferred stock
[ing kēn] (x) EN: criterion referenced
[ing klum] (x) EN: norm referenced
[jānā reūang] (v, exp) EN: write the reference
WordNet (3.0)
(n)the most direct or specific meaning of a word or expression; the class of objects that an expression refers toSyn.denotation, extension
(n)the act of referring or consultingSyn.consultation
(n)a publication (or a passage from a publication) that is referred toSyn.source
(n)the relation between a word or phrase and the object or idea it refers to
(v)refer toSyn.cite
(n)a book to which you can refer for authoritative factsSyn.reference, book of facts, reference work
(n)a pattern of horizontal and vertical lines that provide coordinates for locating points on an image or a map
(n)a manual containing information organized in a summary manner
(n)an indicator that orients you generallySyn.reference, point of reference
Collaborative International Dictionary (GCIDE)

n. [ See Refer. ] 1. The act of referring, or the state of being referred; as, reference to a chart for guidance. [ 1913 Webster ]

2. That which refers to something; a specific direction of the attention; as, a reference in a text-book. [ 1913 Webster ]

3. Relation; regard; respect. [ 1913 Webster ]

Something that hath a reference to my state. Shak. [ 1913 Webster ]

4. One who, or that which, is referred to. Specifically; (a) One of whom inquires can be made as to the integrity, capacity, and the like, of another. (b) A work, or a passage in a work, to which one is referred. [ 1913 Webster ]

5. (Law) (a) The act of submitting a matter in dispute to the judgment of one or more persons for decision. (b) (Equity) The process of sending any matter, for inquiry in a cause, to a master or other officer, in order that he may ascertain facts and report to the court. [ 1913 Webster ]

6. Appeal. [ R. ] “Make your full reference.” Shak. [ 1913 Webster ]


Reference Bible, a Bible in which brief explanations, and references to parallel passages, are printed in the margin of the text.
[ 1913 Webster ]

CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[   /   , cān kǎo shū, ㄘㄢ ㄎㄠˇ ㄕㄨ]reference#41956[Add to Longdo]
[    /    , Cān kǎo Xiāo xī, ㄘㄢ ㄎㄠˇ ㄒㄧㄠ ㄒㄧ]Reference News (PRC limited-distribution daily newspaper)[Add to Longdo]
DING DE-EN Dictionary
Aktenzeichen { n }
reference number[Add to Longdo]
Arbeitszeugnis { n } (vom Arbeitgeber)
reference from one's employer[Add to Longdo]
Aufsichtsplatz { m }
reference desk[Add to Longdo]
Auskunftsabteilung { f }
reference department[Add to Longdo]
Auskunftsbibliothekarin { f }
reference librarian[Add to Longdo]
Bedienungshandbuch { n }
reference manual[Add to Longdo]
Bezug { m } | im Bezug auf | in Bezug auf | in Bezug auf; in Hinsicht auf | in Bezug auf; unter ... Aspekt | mit Bezug auf
reference | relating | in relation to; with reference to | with regard to | in terms of | in regard to; with regard to[Add to Longdo]
Bezugnahme { f }; Hinweis { m } | unter Bezugnahme auf
reference | with reference to; in reference to; referring to[Add to Longdo]
Bezugsgröße { f }
reference quantity[Add to Longdo]
Bezugslinie { f }
reference line[Add to Longdo]
Bezugspeilung { f }
reference soundings[Add to Longdo]
Bezugspunkt { m }
reference point; point of reference[Add to Longdo]
Bezugszeichen { n }
reference sign[Add to Longdo]
Führungsgröße { f }
reference variable[Add to Longdo]
Handbibliothek { f }
reference library[Add to Longdo]
EDICT JP-EN Dictionary
[さんこう, sankou](n, adj-no) (See 参考にする) reference; consultation; (P)#308[Add to Longdo]
[さんしょう, sanshou](n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P)#418[Add to Longdo]
[ぶんけん, bunken](n) literature; books (reference); document; (P)#480[Add to Longdo]
[せってい, settei](n, vs) (1) establishment; creation; posing (a problem); setting (movie, novel, etc.); scene; (2) { comp } options or preference settings (in computer software); configuration; assignment; setup; (P)#765[Add to Longdo]
[きじゅん, kijun](n, adj-no) standard; basis; criterion; norm; reference; datum; (P)#1179[Add to Longdo]
[いんよう, inyou](n, vs, adj-no) quotation; citation; reference; (P)#1667[Add to Longdo]
[げんきゅう, genkyuu](n, vs) reference; allusion; (P)#1898[Add to Longdo]
[にい, nii](n, n-suf) (1) (See 兄・あに) elder brother; (pn, adj-no) (2) (fam) (male) pronoun or suffix used in reference to an older brother figure; Mister; Mr#1902[Add to Longdo]
[しゅみ, shumi](n) (1) hobby; pastime; (2) tastes; preference; liking; (P)#2585[Add to Longdo]
[ゆうせん, yuusen](n, vs, adj-no) preference; priority; precedence; (P)#3130[Add to Longdo]
COMPDICT JP-EN Dictionary
[くろすりふぁれんす, kurosurifarensu]cross reference[Add to Longdo]
[クロスリファレンスけいしき, kurosurifarensu keishiki]cross-referenced (a-no)[Add to Longdo]
[ビューきじゅんざひょうけい, byu-kijunzahyoukei]view reference coordinates[Add to Longdo]
[ビューきじゅんてん, byu-kijunten]view reference point[Add to Longdo]
[フォントさんしょう, fonto sanshou]font reference[Add to Longdo]
[れふぁれんす, refarensu]reference[Add to Longdo]
[いっぱんじったいさんしょう, ippanjittaisanshou]general entity reference[Add to Longdo]
[ひきすうじったいさんしょう, hikisuujittaisanshou]parameter entity reference[Add to Longdo]
[いんよう, inyou]citation, reference[Add to Longdo]
[かいさんしょう, kaisanshou]subordinate reference[Add to Longdo]
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ