แผ่นเสียง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
แถบบันทึกเสียง (Tape recording), Example:<p>แถบบันทึกเสียง <p>หมายถึงวัสดุที่แบนยาวเคลือบด้วยสารแม่เหล็กใช้บันทึกสัญญาณเสียง เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ บันทึก เสียงได้ทั้งสองแถบและสามารถลบเสียงเดิมออกแล้วบันทึกเสียงใหม่ได้ ต่างจากแผ่นเสียงที่เมื่อบันทึกเสียงลงไปแล้วจะคงอยู่ตลอด ไปจนกว่าแผ่นเสียงจะสึกหรอหรือแตกหัก เทปบันทึกเสียง มี 3 ลักษณะ ได้แก่ <p>1.เทปม้วน (tape open reel-to reel) <p>2.เทปตลับแบบคาสเซท (tape cassette) <p>3.เทปตลับแบบ cartridge <p>(tape cartridge) การจัดเก็บเทปบันทึกเสียง จะจัดเก็บไว้ในกล่อง เรียงตามลำดับเลขทะเบียนหรือหัวเรื่องที่กล่องเทปและที่วงของเทปมีป้ายระบุรายละเอียดไดว้คือ ผู้ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ วัน เดือน ปี หมายเลขจำนวนระยะเวลาที่เล่น และอัตราความเร็ว <p>บรรณานุกรม : พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, การใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
ห้องสมุดเสียง[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
เครื่องบันทึกเสียง[วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
การบันทึกด้วยแสงเลเซอร์[TU Subject Heading]
เครื่องบันทึกและการบันทึกแถบแม่เหล็ก[TU Subject Heading]
การจดทะเบียน[TU Subject Heading]
การบันทึกและการผลิต[TU Subject Heading]
อุตสาหกรรมการบันทึกเสียง[TU Subject Heading]
ห้องสมุดวัสดุบันทึกเสียง[TU Subject Heading]
วัสดุบันทึกเสียง[TU Subject Heading]
วัสดุบันทึกเสียงสำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ[TU Subject Heading]
เครื่องตอบรับและบันทึกเสียงโทรศัพท์[TU Subject Heading]
การบันทึกวีดิทัศน์[TU Subject Heading]
วัสดุวีดิทัศน์[TU Subject Heading]
วัสดุวีดิทัศน์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ[TU Subject Heading]
ขั้วไฟฟ้าสำหรับวัด, อีเล็ตโตรดขั้วที่ใช้บันทึก, อีเล็คโตรดบันทึก, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้วัด[การแพทย์]
เครื่องบันทึก[อุตุนิยมวิทยา]
บารอมิเตอร์แบบ บันทึกรายงาน[อุตุนิยมวิทยา]
แอนนีมอมิเตอร์แบบ บันทึก[อุตุนิยมวิทยา]
ทีออโดไลต์แบบบันทึก[อุตุนิยมวิทยา]
เครื่องวัดฝนแบบ บันทึก[อุตุนิยมวิทยา]
ฟริโกริมิเตอร์แบบ บันทึก[อุตุนิยมวิทยา]
rain recording gauge, เครื่องวัดน้ำฝนแบบอัตโนมัติ[เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
ระบบการจัดหมู่ทรัพยากรประเภทสื่อบันทึกเสียง, Example:Alpha-Numeric System for Classification of Recordings หรือ ANSCR (อ่านว่า answer) เป็นระบบการจัดหมู่สื่อบันทึกเสียง เช่น เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง ประกอบด้วย 23 หมวดใหญ่ โดยใช้ตัวอักษร A-Z ในบางหมวดหมู่จะแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยใช้ตัวอักษร 2 ตัว ได้แก่ หมวด E หมวด G หมวด M และหมวด Z การจัดหมู่ในระบบ ANSCR แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นหมวดใหญ่ แสดงประเภทของสื่อบันทึกเสียง เช่น ใช้อักษร M แทนดนตรีตามสมัยนิยม ในการแบ่งเป็นหมวดหมู่ย่อยจะใช้ตัวอักษร 2 ตัว เช่น ใช้ MJ สำหรับดนตรีแจ๊ส ส่วนที่ 2 เป็นตัวอักษร 3-4 ตัวแรกตามชื่อเรื่องของผลงาน ชื่อของนักแต่งเพลง นักแสดง ผู้เขียน ฯลฯ ส่วนที่ 3 ของเลขหมู่หนังสือ (Classification number) ประกอบด้วยอักษร 3 ตัวแรกของคำสำคัญในชื่อเรื่องของผลงานหรืออัลบั้ม หรือใช้ตัวเลข ถ้าผลงานนั้นเป็นที่รู้จักกันตามรูปแบบและผลงานที่ให้หมายเลข ส่วนที่ 4 ประกอบด้วยตัวอักษรตัวแรกของชื่อผู้แสดงหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับการแสดงในการบันทึกเสียง ตามด้วยตัวเลข 2 ตัวสุดท้ายของตัวเลขที่ใช้บันทึกในเชิงพาณิชย์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้<br> <br style="margin-left: 40px">ES <br style="margin-left: 40px">BEET <br style="margin-left: 40px">5 <br style="margin-left: 40px">O 98 <li>ES แสดงว่า ผลงานที่บันทึกเสียงนี้อยู่ในรูปแบบของวงออเคสตร้าหรือวงซิมโฟนี</li> <li>BEET เป็นผลงานที่แต่งโดย ลุดวิก ฟาน เบโธเฟ่น (Ludwig Van Beethoven)</li> <li>เลข 5 คือ วงซิมโฟนีที่ 5</li> <li>O98 เป็นการแสดงที่ควบคุมวงดนตรีโดยยูจีน ออร์มานดี (Eugene Ormandy) และตัวเลข 2 ตัวสุดท้ายเป็นตัวเลขการบันทึกของโคลัมเบีย คือ 98</li><br> ระบบ ANSCR นี้เป็นระบบที่นิยมใช้กันมากในห้องสมุดที่มีสื่อบันทึกเสียงจำนวนมาก สำหรับห้องสมุดที่มีทรัพยากรประเภทนี้จำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไปมักจะใช้เลขทะเบียน (Accession number) หรือระบบการ จัดหมู่ (Classification system) ที่พัฒนาขึ้นเองในห้องสมุดสำหรับใช้จัดระบบทรัพยากรประเภทสื่อบันทึกเสียง<br> โครงสร้างแผนการจัดหมู่ของระบบ ANSCR มีดังนี้<br> A - Music Appreciation: History and Commentary <br> B - Operas<br> C - Choral Music<br> D - Vocal Music<br> E - Orchestral Music:<br> EA-General Orchestral, EB-Ballet, EC-Concertos, ES-Symphonies<br> F - Chamber Music<br> G - Solo Instrumental Music:<br> GG-Guitar, GO-Organ, GP-Piano, GS-Stringed Instruments<br> GV-Violin, GW-Wind Instruments, GX-Percussion Instruments<br> H - Band Music<br> J - Electronic Music<br> K - Musicals<br> L - Soundtrack Music: Movies and Television<br> M - Popular Music:<br> MA-Pop/Rock, MB-Blues, MC-Country, <br> MG-Gospel, MJ-Jazz, MN-New Age<br> P - National Folk and Ethnic Music<br> Q - International Folk and Ethnic Music<br> R - Holiday Music<br> S - Variety and Humor: Comic Monologues, Musical Satire, Radio Shows<br> T - Plays<br> U - Poetry<br> V - Prose<br> W - Documentaries<br> X - Instructional: Dictation, Languages, "How To..."<br> Y - Sound Effects<br> Z - Children's Recordings<br> ZI-Instructional, ZM-Music, ZS-Spoken<br> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]