น. ชื่อตำแหน่งของบุคคลซึ่งรัฐบาลของประเทศหนึ่งแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประจำอยู่ในเมืองต่าง ๆ ของอีกประเทศหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลือคนชาติของตนและดูแลผลประโยชน์ทั่วไปของประเทศของตน.
น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการพิเศษ ก็ว่า.
น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการนอกทำเนียบ ก็ว่า.
การรบกันเองในเมือง เรียกว่า ศึกกลางเมือง
น. ชื่อวันที่พระสงฆ์ในเมืองไทยปลงผม ตรงกับวันขึ้น ๑๔ คํ่า หรือแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็เป็นแรม ๑๓ คํ่า เรียกว่า วันโกน, คู่กับ วันพระ
น. ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวง.
น. ผู้มีอำนาจรับรองลายมือชื่อ เอกสาร วัตถุ หรือบุคคล ในบางประเทศโนตารีปับลิก หรือแมยิสเตร็ดมีหน้าที่จัดทำเอกสารสำคัญบางชนิดให้แก่ประชาชนด้วย ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งของประเทศไทย กำหนดให้ใบมอบอำนาจที่ทำในเมืองต่างประเทศที่มีกงสุลไทย ต้องให้กงสุลนั้นเป็นพยาน ถ้าไม่มีกงสุลไทย ต้องให้เจ้าพนักงานโนตารีปับลิกหรือแมยิสเตร็ด เป็นพยาน.(อ. notary public).(ดู แมยิสเตร็ด ประกอบ).
บ. ตรงกันข้ามกับ นอก, ไม่ใช่นอก, เช่น ในบ้าน ในเมือง.
พระเจ้า, พระเยซู, (ตามที่คริสต์ศาสนิกชนในเมืองไทยใช้อนุโลมเรียก) เช่น พระลงโทษ แม่พระ
น. บริเวณ, สถานที่, เช่น ภายนอกกำแพง ภายในเมือง
(มนทารบ) น. ชื่อต้นไม้ในเมืองสวรรค์, มณฑา ก็ใช้.
น. เมืองที่เร้นลับ ถือกันว่าจะพบได้ก็แต่โดยบังเอิญ ถ้าตั้งใจไปไม่พบ, บางทีก็เรียกว่า เมืองแม่ม่าย เพราะเชื่อกันว่าผู้หญิงที่อยู่ในเมืองนี้ล้วนเป็นแม่ม่ายทั้งสิ้น.
ตำแหน่งเจ้านายในเมืองประเทศราชฝ่ายเหนือ เรียกว่า เจ้าราชวงศ์.
ว. เรียกเพลงชนิดที่คนในกรุงหรือในเมืองนิยม ว่า เพลงลูกกรุง.
(สากกะยะ) น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์ เรียกว่า ศากยวงศ์, เรียกกษัตริย์ในวงศ์นี้ ว่า ศากยะ.
น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. (ป.; ส. ศากฺย). (ดู ศากย-, ศากยะ).
น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์ เรียกว่า ศากยวงศ์ หรือ สากิยวงศ์, เรียกกษัตริย์ในวงศ์นี้ ว่า ศากยะ หรือ สากิยะ, ถ้าเพศหญิง ใช้ว่า สากิยา หรือ สากิยานี.
น. สำนวนที่เนื่องมาจากการที่คนจีนจากเมืองจีนเดินทางโดยเรือสำเภาเข้ามาทำมาหากินในเมืองไทย โดยไม่มีทรัพย์สมบัติหรือข้าวของติดตัวมานอกจากเสื่อกับหมอนเท่านั้นแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้
ก. อวย, ให้, เช่น คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน (จารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ ๑ ด้านที่ ๒).