ว. ใช้ประกอบแสดงความเห็นหรือความรู้สึกในลักษณะที่ว่า ไม่สมควรที่จะ ไม่น่าจะ รู้สึกว่าไม่ เช่น ไม่เห็นจะน่ารักเลย ไม่เห็นจะน่ากลัวเลย.
ก. คงจะ เช่น เห็นจะจริง, ถ้าใช้ในความปฏิเสธ เป็น ไม่เห็นจะ.
ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง เช่น อกเอ๋ยอกประหลาดจริงที่นิ่งเฉย โอ้เอ๋ยผิดคิดไม่เห็นจะเป็นเลย เสียดายเอ๋ยที่พี่เคยสงวนงาม (กลบท).
(ขะหฺมุกขะหฺมัว) ว. มืด ๆ มัว ๆ, โพล้เพล้, จวนคํ่า, จวนมืด, โดยปริยายใช้หมายถึงสีมัว ๆ, ไม่ผ่องใส, เช่น ครั้นจะทำขมุกขมัวมอมแมม ชายเห็นจะเยื้อนแย้มบริภาษให้บาดจิต (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
ว. เห็นจะ, เห็นทีจะ, ท่าจะ, บางที, ในบทกลอนใช้ว่า รอย ก็มี เช่น เจ้าจุ&npsp;ํพลภูมิศร์ รอยไพริศร้ายกำจัดจร (ม. คำหลวง วนประเวศน์).
ว. เห็นจะ, ค่อนข้าง, เช่น ชายจะเบากว่าพ่อชาลี (ม. ร่ายยาว).
ว. เข้าใจว่า เช่น ดูเหมือนตอนนี้เขาจะกลับบ้านไปแล้ว, คะเนว่า, เห็นจะ, เช่น ไฟฟ้าดูเหมือนจะดับราว ๆ ตี ๔.
เลิก, ไม่ทำต่อ, เช่น งานนี้หนักมาก ทำต่อไปไม่ไหวแล้วเห็นจะต้องถอย.
ก. ถอยหลังพร้อมกับเบี่ยงตัวหลบทันที, หลบอย่างมีชั้นเชิง, โดยปริยายหมายความว่า หลบไป หรือ เลี่ยงกัน เช่น งานนี้สู้ไม่ไหว เห็นจะต้องถอยฉากไปก่อน.
ก. ได้ผล, สำเร็จ, เช่น เป็นการหรือไม่เป็นการ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เห็นจะไม่เป็นการ.
(พิดสะไหฺม) ก. รักใคร่หลงใหล เช่น ฉันไม่เห็นจะพิสมัยเธอเลย.
ก. ไม่ได้ผล, ไม่สำเร็จ, เช่น เห็นจะไม่เป็นการ.
ว. เห็นจะ, ชะรอย, เช่น เจ้าจุํพลภูมิศร์ รอยไพริศร้ายกำจัดจร (ม. คำหลวง วนประเวศน์).
เปิดเต็มที่ (ใช้แก่อาการที่เห็นจะแจ้งหรือเปิดเผยเต็มที่) เช่น ประตูเปิดร่า หน้าต่างเปิดร่า.
เพียง, แค่, เช่น ราคาของ ๔๐, ๐๐๐ บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก ๓๐, ๐๐๐ บาท ก็พอจะสู้ได้.
ว. เป็นภาระของ, เป็นเรื่องของ, เช่น ฉันจะไปที่ไหน ก็ไม่เห็นจะหนักหัวกบาลใคร, หนักกบาล หนักกบาลหัว หนักกะลาหัว หรือ หนักหัว ก็ว่า.
(อะหฺล่าง-) ว. ที่เห็นจะแจ้ง, ที่เห็นเต็มที่, ที่เห็นเด่น, ที่เปิดเผย.