เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์]
เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์[พลังงาน]
อัตราส่วนระหว่างความเค้นต่อความเครียดในช่วงเส้นตรงของกราฟจากการ ทดสอบแรงดึงหรือแรงอัด รู้จักกันในชื่อของ Young's modulus[เทคโนโลยียาง]
แนวขอบรักแร้หลังแนวเส้นตรงลากจากขอบหลังรักแร้, แนวเส้นที่ลากจากมุมหลังของรักแร้, เส้นดิ่งรักแร้ข้างหลัง, แนวขอบหลังของรักแร้[การแพทย์]
เส้นตรง, ระดับเส้นฐาน, แนวฐาน, เส้นพื้น[การแพทย์]
แกนสมมาตร, เส้นตรง L จะเป็นแกนสมมาตรของจุด P และจุด Q เมื่อลากส่วนของเส้นตรง PQ แล้ว L จะแบ่งครึ่งและตั้งได้ฉากกับส่วนของเส้นตรง PQ และในกรณีนี้กล่าวได้ว่าจุด P สมมาตรกับจุด Q L จะเป็นแกนสมมาตรของเส้นโค้ง C หรือ รูป A ใด ๆ เมื่อทุก ๆ จุดบนเส้นโค้งหรือบนรูปนั้นสมม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ขนาดของเวกเตอร์, ความยาวของส่วนของเส้นตรงที่มีทิศทางแทนเวกเตอร์นั้น โดยวัดจากจุดเริ่มต้นถึงจุดปลายของเวกเตอร์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ความชัน (ของเส้นตรง), m เป็นความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด P1 (x1, y1) และ P2 (x2, y2) ก็ต่อเมื่อ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
คอร์ด, ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดสองจุดใด ๆ บนเส้นรอบวงหรือเส้นโค้ง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ด้านสิ้นสุด, ในการวัดมุมถ้าส่วนของเส้นตรง AP หมุมรอบจุด A ไปอยู่ในแนว AQ สิ่งที่เกิดขึ้นเรียกว่ามุม และเรียกส่วนที่เกี่ยวข้องกับมุมดังนี้ เรียกจุด A ว่า จุดยอดมุม เรียก AP ว่า ด้านเริ่มต้น เรียก AQ ว่า ด้านสิ้นสุด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ปริมาณเวกเตอร์, ปริมาณที่บอกทั้งขนาด และทิศทาง เช่น ความเร็ว ความเร่ง ปริมาณเวกเตอร์อาจแทนได้ด้วยส่วนของเส้นตรงที่ระบุทิศทาง โดยใช้ความยาวของส่วนของเส้นตรงแทนขนาดและใช้หัวลูกศรเพื่อบอกทิศทาง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ปริมาณสเกลาร์, ปริมาณที่มีแต่ขนาด ไม่มีทิศทาง เช่น เวลา อุณหภูมิ อาจแทนปริมาณสเกลาร์ได้ด้วยความยาวของส่วนของเส้นตรง หรือระยะระหว่างจุดสองจุดบนเส้นตรง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
พาราโบลา, เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งแต่ละจุดมีระยะห่างจากเส้นตรงคงที่ (ไดเรกทริกซ์)เป็นระยะทางเท่ากับระยะห่างจากจุดคงที่(โฟกัส)จุดหนึ่งเสมอ ดูรูป ไดเรกทริกซ์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
มุมตรงข้าม, มุม 2 มุมที่มีขนาดเท่ากัน และเกิดจากเส้นตรง 2 เส้นตัดกันดังรูป a เป็นมุมตรงข้ามกับ a´ หรือ กลับกัน b เป็นมุมตรงข้ามกับ b´หรือ กลับกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
มุมภายใน (ของเส้นตัด), มุมที่เกิดขึ้นจากการที่มีเส้นตรงเส้นหนึ่ง ตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง จากรูป เป็นมุมภายใน และ เป็นมุมภายนอกที่เกิดจากเส้นตรง t ตัดเส้นตรง m และ n [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
มุมแย้ง, มุมที่เกิดจากเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงใด ๆ ตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป ดังรูป เป็นมุมแย้งของ หรือกลับกัน เป็นมุมแย้งของ หรือกลับกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
มุมเอียง, มุมที่เส้นตรงทำกับแกน X เมื่อวัดจากแกน X ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเข้าหาเส้นตรง และมีขนาดน้อยกว่า 180° จากรูป คือ มุมเอียง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปหลายเหลี่ยมของความถี่, รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ รูปหลายเหลี่ยมที่เกิดจากการลากเส้นตรงโยงระหว่างจุดกึ่งกลางบนแท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากที่อยู่ติดกันของฮิสโทแกรมของข้อมูลชุดนั้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ส่วนของเส้นตรง, ส่วนที่ตัดออกมาจากเส้นตรง มีความยาวจำกัด ส่วนของเส้นตรง AB เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นขนาน, เส้นตรงใด ๆ ในระนาบเดียวกันที่มีความชันเท่ากัน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นโค้งของความถี่สะสม, เส้นโค้งที่ได้จากการปรับเส้นตรงที่โยงต่อระหว่างจุดซึ่งแทนคู่อันดับของค่าตัวแปร และค่าของความถี่สะสม[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นจำนวน, เส้นตรงที่มีจุด 0 เป็นจุดแทนศูนย์ จุดที่อยู่ทางขวาของจุด 0 แทนจำนวนบวกเช่น 1, 2, 3, ... และจุดที่อยู่ทางซ้ายแทนจำนวนลบ เช่น -1, -2, -3, ... โดยแต่ละจุดอยู่ห่างจุด 0 เป็นระยะ 1, 2, 3, ... หน่วยความยาว ตามลำดับ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นดิ่ง, เส้นตรงที่ลากในแนวตั้งฉากกับแนวระดับ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นตรง, เซตของจุด (x, y) ที่สอดคล้องกับสมการ y = a + bx เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใด ๆ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นตั้งฉาก, เส้นตรงสองเส้นตั้งฉากกัน ก็ต่อเมื่อเส้นตรงทั้งสองตัดกันแล้วมุมประชิดจะมีขนาดเท่ากัน ในเรขาคณิตวิเคราะห์เส้นตรงสองเส้นซึ่งไม่อยู่ในแนวดิ่งจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน ก็ต่อเมื่อผลคูณของความชันของเส้นตรงทั้งสอง มีค่าเท่ากับ -1[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นตัด, เส้นตรงซึ่งตัดเส้นโค้งที่กำหนดให้[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นตัด, เส้นตรงซึ่งตัดเส้นตรงอื่นตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
เส้นสัมผัส (เส้นโค้ง), เส้นตรงที่ผ่านจุด P ซึ่งอยู่บนเส้นโค้งและอยู่ในตำแหน่งใกล้เคียงกับเส้นตรงที่ลากผ่านจุด P และอีกจุดหนึ่งบนเส้นโค้งซึ่งเกือบทับจุด P[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การหักเห, การที่คลื่นเปลี่ยนทิศหรือเปลี่ยนความเร็วการเคลื่อนที่เมื่อผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง เช่น เมื่อลำแสงผ่านตัวกลางโปร่งใสต่างชนิดกันที่อยู่ติดกันโดยไม่ตั้งฉากกับแนวรอยต่อของตัวกลางทั้งสอง ลำแสงที่ผ่านตัวกลางทั้งสองชนิดจะไม่เป็นเส้นตรงเดียวกัน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
คลื่นดลเส้นตรง, คลื่นดลที่มีหน้าคลื่นเป็นเส้นตรง เกิดจากแหล่งกำเนิดคลื่นที่เป็นเส้นตรง เช่น คลื่นน้ำซึ่งเกิดจากการรบกวนผิวน้ำด้วยไม้บรรทัดเพียงครั้งเดียว[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
ไมโครเวฟ, สื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูง ใช้สำหรับการเชื่อมต่อระยะไกล โดยการส่งสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และต้องมีสถานีที่ทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูล และเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวตามความโค้งของผิ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
แอมแปร์, หน่วยสำหรับวัดกระแสไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ A โดยกำหนดว่า 1 แอมแปร์ คือ กระแสคงตัวในตัวนำเส้นตรง 2 เส้นที่มีความยาวไม่จำกัด และเล็กมากไม่คิดพื้นที่หน้าตัด วางห่างกันเป็นระยะ 1 เมตรในสุญญากาศ จะเกิดแรงระหว่างตัวนำทั้งสองเท่ากับ 2.0 x 10?7 นิวตันต่อเมตร[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รัศมี, ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นรอบวง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รังสี, ส่วนของเส้นตรง ซึ่งมีจุดเริ่มต้นแต่ไม่มีจุดปลาย[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การเลื่อนขนาน, การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุดทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะทางที่เท่ากันตามที่กำหนด[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปเรขาคณิต, รูปที่ประกอบด้วย จุด เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาบ ฯลฯ อย่างน้อยหนึ่งอย่าง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การชนในหนึ่งมิติ, การชนของวัตถุสองชิ้น โดยแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทั้งก่อนการชนและหลังการชน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
การชนในสองมิติ, การชนของวัตถุสองชิ้น โดยแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุทั้งสองไม่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทั้งก่อนการชนและหลังการชน[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปร่าง, การนำเส้นตรงหรือเส้นโค้งมาประกอบเข้าด้วยกันเป็นรูปปิด ลักษณะเป็น 2 มิติ คือมีความกว้างและความยาว แต่ไม่มีความลึกหรือความหนา แบ่งได้เป็น รูปร่างเรขาคณิต รูปร่างในธรรมชาติ[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
รูปร่างเรขาคณิต, รูปร่างที่ประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง เช่น วงกลม ครึ่งวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม เป็นต้น[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
กระดาษกริดไอโซเมตริก, กระดาษที่มีเส้นตรง 3 แกนตัดกัน เกิดเป็นตารางสามเหลี่ยมเพื่อใช้เป็นเส้นร่างกำหนดแนวความกว้าง ความยาว และความสูงของภาพที่เราจะวาด ประกอบด้วย แกน X (แกนทแยงขวา)ใช้แทนความกว้าง แกน Y (แกนทแยงซ้าย) ใช้แทนความยาวหรือลึก แกน Z (แกนตั้ง) ใช้แทนความสูง[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
วิธีวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นตรง[การแพทย์]
เป็นเส้นตรง, เส้นตรง, ลักษณะเป็นเส้น[การแพทย์]
ความสัมพันธ์แบบผกผันเป็นเส้นตรง[การแพทย์]
การขยายตัวในแนวเส้นตรง[การแพทย์]
วัดเป็นเส้นตรง, การวัดส่วนสูง[การแพทย์]
บทเรียนแบบโปรแกรมแบบเส้นตรง[การแพทย์]
ความเป็นเส้นตรงของกราฟมาตรฐาน[การแพทย์]