ก. มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย.
ว. ด่วนทำไปทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงเวลาอันสมควร.
น. หน้าตาที่เฉยเมยคล้ายกับว่าไม่ต้องการต้อนรับใคร อาจเป็นปรกติหรือเป็นบางโอกาสก็ได้.
ว. ที่ไม่รู้สึกกระดากหรือขวยใจ.
น. วิธีคิดเลขเพื่อให้รู้ว่าไม้มีกี่ยก
เครื่องยิงชนิดหนึ่ง มีคันและราง ยิงด้วยลูกหน้าไม้.
น. เครื่องมือช่างไม้สำหรับไสไม้ ขูดปอกหน้าไม้เพื่อลบคลองเลื่อยให้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว มีมากชนิดด้วยกัน เช่น กบกระดี่ กบบังใบ กบบัว
ก. รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทำเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย.
ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย.
น. ที่สำหรับเหนี่ยวให้ลูกกระสุนเป็นต้นลั่นออกไปเช่น ไกปืน ไกหน้าไม้.
ว. วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย
น. เครื่องยิงสัตว์ ใช้หอก หรือปืน หรือหลาว ขัดสายใยไว้ เมื่อคนหรือสัตว์ไปถูกสายใยเข้า ก็ลั่นแทงเอาหรือยิงเอา ใช้อย่างเดียวกับหน้าไม้ก็ได้.
(จาบ) น. ธนู, ศร, หน้าไม้, เช่น ชักกุทัณฑกำซาบ ด้วยลูกจาปแล่นลิ่ว (อนิรุทธ์).
ก. เข้าหน้าไม่สนิทเพราะห่างเหินไปนาน เช่น หมู่นี้เขาเจิ่นไป, เจื่อน ก็ว่า.
ว. วางหน้าไม่สนิทมีอาการเก้อเขิน.
ก. เข้าหน้าไม่สนิทเพราะห่างเหินไปนาน เช่น หมู่นี้เขาเจื่อนไป, เจิ่น ก็ว่า
วางหน้าไม่สนิทเพราะกระดากอายเนื่องจากถูกจับผิดได้เป็นต้น เช่น หน้าเขาเจื่อนไป, เรียกหน้าที่มีลักษณะเช่นนั้น ว่า หน้าเจื่อน.
ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้ซ้ำคำ ๒ คำต้นในวรรค โดยคำที่ซ้ำเปลี่ยนไปทุกวรรค เช่น กุ๋ยกุ๋ยหน้าไม่เก้อละเมอหึง ฟังฟังก็เหมือนแกล้งแพร่งความอึง คิดคิดและให้ขึ้งขุ่นเคืองใจ (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ).
น. ศรหรือหน้าไม้ที่มีลูกอาบด้วยยาพิษ.
(-เหฺลอ) ว. เซ่อ, มีสีหน้าไม่รู้เรื่อง (ใช้แก่หน้า).
ขมวด เช่น ผูกคิ้วนิ่วหน้าไม่พาที (นิ. นรินทร์)
วางหน้าไม่สนิทเหมือนกินของมีรสเฝื่อน.
น. ยางไม้ที่ได้จากพรรณไม้หลายชนิด เช่น ต้นน่อง (Antiaris toxicaria Leschen.) มีพิษมาก พวกชาวป่าใช้ทาลูกดอกหรือลูกหน้าไม้ยิงสัตว์.
ก. ยิ้มวางหน้าไม่สนิทคล้ายกินของมีรสเฝื่อน.
ก. เข้าหน้า, เผชิญหน้า, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น รอหน้าไม่ติด ไม่อยู่รอหน้า.
ว. เจ็บอาย, เศร้า, สลด, เช่น ว่าแล้วหน้าไม่ลื้น
ว. ไม่เป็นระเบียบ เช่น หัวหน้าไม่อยู่ งานการเละเทะ
ว. มัว ๆ, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ภาพเก่าสีเลือนไปจนเห็นหน้าไม่ชัด มองเห็นเลือน ๆ, เฟือน ๆ เช่น ความจำเลือนไป.
ก. ตีหน้า เช่น วางหน้าไม่สนิท วางหน้าเก้อ ๆ.
น. อารมณ์ที่ปรากฏทางหน้า เช่น วันนี้สีหน้าเขาไม่ดีเลย คงจะโกรธใครมา พอถูกดุก็ทำสีหน้าไม่พอใจ.
ก. กดกบลงบนไม้แล้วดันกบเพื่อทำให้หน้าไม้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว ลอกลวด เป็นต้น, ไสไม้ ก็เรียก.
ก. กดกบลงบนไม้แล้วดันกบเพื่อทำให้หน้าไม้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว ลอกลวด เป็นต้น, ไสกบ ก็เรียก.
ว. วางหน้าไม่สนิท มีอาการเก้อเขิน.
ว. วางหน้าไม่สนิทเพราะกระดากอายเนื่องจากถูกจับผิดได้เป็นต้น.
ว. มีสีหน้าไม่สดใสหรือไม่มีสีเลือดเพราะอดนอน ตกใจ หรือถูกจับได้ว่าทำผิดเป็นต้น.
ว. อาการที่วางหน้าไม่รู้ไม่ชี้หรือทำเป็นไม่รู้เรื่อง เช่น ตีหน้าเซ่อ.
ว. มีสีหน้าไม่สลดทั้งที่ควรจะอายแต่ก็ไม่อาย, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีความรู้สึกอายในสิ่งที่ควรอาย.
ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท กระดากอาย เพราะถูกจับผิดได้เป็นต้น, หน้าเจื่อน ก็ว่า.
ว. มีสีหน้าไม่แจ่มใสเพราะความทุกข์เช่นผิดหวัง.
(อะนุราด, อะนุราทะ, อะนุราทา) น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๗ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปธนู หน้าไม้ หรือหงอนนาค, ดาวประจำฉัตร หรือ ดาวนกยูง ก็เรียก.
น. ธนู, หน้าไม้, เครื่องยิง.