(ชะระ-) ก. บอบชํ้า, เมื่อยล้า.
น. แบบอย่าง, ธรรมเนียม, เช่น ทำถูกระบอบ
ระเบียบการปกครอง เช่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์.
น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย.
(คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจำนวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ.
การเปลี่ยนแปลงระบบ เช่น ปฏิวัติอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง เช่น ปฏิวัติการปกครอง.
(ปฺระชาทิปะไต, ปฺระชาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่, การถือเสียงข้างมากเป็นใหญ่.
(ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี) น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ.
(รัดถะทำมะนูน, รัดทำมะนูน) น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ กำหนดรูปแบบและระบอบการปกครองของประเทศ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กร และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร.
น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีพระราชาเป็นใหญ่. (ป. ราช + อธิปเตยฺย).
(สมบูระนายาสิดทิราด) น. ระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ.
น. เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์.
(-ทิปะไต, -ทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีอภิชนเป็นใหญ่. (ป. อภิ + ชน + อธิปเตยฺย).
ระบอบการปกครองที่ผู้นำมีอำนาจเด็ดขาดและไม่จำกัด.
(-ทิปะไต, -ทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองโดยคนคนเดียว.