น. หมากรุก เช่น ต่งงกรดานจตุรงคมยง ม่ายม้า (กำสรวล).
ว. จตุรงค์, องค์ ๔, ๔ เหล่า.
(-ตุรงคะ-) ว. มีองค์ ๔, มีส่วน ๔.
ก. ต่อสู้ชิงชัย เช่น อนึ่งภูษาทรงณรงค์รบ ให้มีครบเครื่องเสร็จทั้งเจ็ดสี (สวัสดิรักษา).
น. ม้า เช่น เทียมดุรงค์รวดเรี่ยว (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
(ตุรงคะ-) น. ดุรงค์, ม้า, เช่น ตุรงคสังวัจฉร คือ ปีมะเมีย.
น. ๓ สี, เรียกธงชาติไทยซึ่งมี ๓ สี ๕ แถบ คือ แดง ขาว นํ้าเงิน ขาว แดง ว่า ธงไตรรงค์.
(บันจะรง) น. เบญจรงค์ เช่น เอาผ้าบัญจรงค์อันงาม (จารึกวัดป่ามะม่วง หลักที่ ๕ ด้านที่ ๓).
น. แม่สีทั้ง ๕ คือ ดำ แดง ขาว เขียว (คราม) เหลือง, เรียกเครื่องถ้วยชามที่เขียนลวดลายด้วยแม่สีทั้ง ๕ ว่า ถ้วยเบญจรงค์ ชามเบญจรงค์.
(รงคะ-, รง) น. สี, นํ้าย้อม
ความกำหนัด, ตัณหา, ความรัก
ก. ต่อสู้, โฆษณาชักชวนอย่างต่อเนื่องโดยมีเจตนาที่จะต่อสู้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง รณรงค์ให้คนไทยใช้ของไทย.
(วะรง) น. “ส่วนสำคัญของร่างกาย” คือ หัว.
ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, ใช้เพี้ยนไปเป็น สุหร่ง ก็มี.
น. เชิงชั้น, เล่ห์กล, เช่น กระเหน็จกระแหน่รณรงค์ (สมุทรโฆษ).
ก. ออกแสดง เช่น บค้าอาตม์ออกรงค์ (ตะเลงพ่าย), มีมือถือดาบกล้าอวดค้าค้าคำราม (ม. คำหลวง กุมาร).
ก. ต้มให้เดือดนาน ๆ เพื่อให้งวด ข้น หรือเปื่อยเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น อันซึ่งพระรามฤทธิรงค์ มาเคี่ยวฆ่าวงศ์ยักษี (รามเกียรติ์ ร. ๑).
น. ภาชนะกระเบื้องชนิดหนึ่ง ลักษณะแบนกลมคล้ายจาน ยกขอบและมีเชิงอย่างพาน เดิมสั่งทำจากจีน มีทั้งชนิดเขียนลายครามและเขียนสีเบญจรงค์ ใช้ใส่อาหาร.
(ทะไว) น. หมวด ๒, ทั้ง ๒ เช่น แม้อันว่าทวัยราชาคือองค์บิดุราธิราชมาดุรงค์ วิสญฺ หุตฺวา ทรงกรรแสงสาหศรทดรทาย (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
น. ธงที่มีความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้างแบ่งเป็น ๕ แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีนํ้าเงินแก่กว้าง ๒ ส่วน ต่อจากแถบสีนํ้าเงินแก่ออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ ๑ ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีแดงกว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาตินี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ธงไตรรงค์” โดยสีแดงหมายถึงชาติ สีขาวหมายถึงศาสนา และสีน้ำเงินหมายถึงสถาบันพระมหากษัตริย์.
(นากบอริพัน) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๒ คำต้นของวรรคต่อไปซ้ำกับ ๒ คำสุดท้ายของวรรคหน้า โดยให้สลับคำกัน เช่น พระปิตุรงค์ฟังบุตรเห็นสุดห้าม ห้ามสุดความคิดบุตรเห็นสุดหาญ หาญสุดไม่หยุดยั้งจะรั้งราญ ราญรั้งนานแน่วเนตรสังเวชบุตร (ศิริวิบุลกิตติ์).
น. กลุ่มสีซึ่งสามารถผสมออกมาเป็นสีอื่น ๆ ได้ทุกสี มี ๕ สี คือ แดง เขียว (คราม) เหลือง ดำ ขาว เรียกว่า เบญจรงค์.
น. อำนาจคุ้มครอง เช่น ใต้ร่มธงไตรรงค์ ใต้ร่มธงไทย.
น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Thaiphusa sirikit (Naiyanetr) ในวงศ์ Potamidae กระดองสีม่วงอมน้ำเงิน ขอบกระดองและขาก้ามสีขาว ขาสีแดง อาศัยอยู่ตามลำห้วย พบที่อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี, ปูสามสี หรือ ปูไตรรงค์ ก็เรียก.
(สี) น. ลักษณนามใช้แก่คน เช่น พระปิตุราชมาตุรงค์ทรงพระสรวล เห็นสมควรคู่ครองกันสองศรี (อภัย).
ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, เพี้ยนมาจาก สุรงค์.
ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส และแผลงเป็น เอศวร เช่น นเรศวร ราเมศวร, ใช้ย่อเป็น อิศร (อ่านว่า อิสวน) ก็มี เช่น ใยยกพระธำมรงค์ สำหรับองค์อิศรราช (เพชรมงกุฎ).