96 ผลลัพธ์ สำหรับ 

*ภาษาไทย*

 ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น: ภาษาไทย, -ภาษาไทย-
Longdo Unapproved TH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
English
(n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o)ภาษาไทย-อังกฤษ
ถถถถถ
(slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต)หัวเราะ หรือ 55555 (hahahahaha) เนื่องจากบนคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์ทั่วไป ปุ่มอักษร ถ จะตรงกับเลข 5 ในภาษาอังกฤษ และผู้พิมพ์มักลืมกดปุ่มเปลี่ยนภาษาจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยก่อน ตั้งใจจะพิมพ์ 55555 เลยกลายเป็น ถถถถถ เมื่อมีการพิมพ์ผิดกันบ่อยครั้ง จึงถือกันว่าคำว่า ถถถถถ ก็ใช้แทนความหมายของ 55555 ไป
Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ
[หล๋ำ](vt)มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำSee Also:S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
(n)ThaiSee Also: Siamese, Thai languageExample:บุหรี่นำเข้าจะต้องมีการพิมพ์คำเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่เป็นภาษาไทยด้วยUnit:ภาษาThai Definition:ภาษาที่คนไทยใช้พูดจาติดต่อสื่อสารกัน, ภาษาประจำชาติหรือประเทศไทย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า.
น. วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง.
น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์.
ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ.
ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชุมนุมวรรณศิลป์ ชุมนุมภาษาไทย.
ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี).
น. สระที่มีเสียงยาว ในภาษาบาลีได้แก่ อา อี อู เอ โอ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อา อี อู ฤๅ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา, ในภาษาไทยได้แก่ อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ เอีย เอือ อัว.
(นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก.
ทำให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์การใช้ภาษา เช่น บังคับให้ใช้เครื่องหมายอัญประกาศเมื่ออ้างถึงคำพูดของผู้อื่น ภาษาไทยไม่บังคับการใช้เครื่องหมายมหัพภาคเคร่งครัดนัก
น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม
น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม.
ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ.
(รัดสะสะหฺระ) น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ใอ ไอ เอา.
น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ  ่ (ไม้เอก)  ้ (ไม้โท)  ๊ (ไม้ตรี)  ๋ (ไม้จัตวา).
น. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ.
ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง.
(สะมา-) น. สิ่งแต่ละสิ่งที่มีปรากฏอยู่ในเซตใดเซตหนึ่ง เช่น { ก, ข, ค } คือ เซตของอักษร ๓ ตัวแรกในภาษาไทย มีสมาชิก ๓ ตัว, สิ่งที่ปรากฏอยู่ในคู่อันดับใดคู่อันดับหนึ่ง เช่น (ก, ข) คือ คู่อันดับหนึ่งที่มี ก เป็นสมาชิกตัวหน้า ข เป็นสมาชิกตัวหลัง.
น. สัมผัสพยัญชนะที่มีเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน เช่น จำใจจำจากเจ้า จำจร (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ).
น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์.
น. เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สำเนียงส่อภาษา สำเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง.
น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น ตัวอย่างกาพย์
(กฤษณา),
ตัวอย่างฉันท์
(หลักภาษาไทย),

ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
(กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).

น. การพนันอย่างหนึ่ง ที่ออกเป็นตัวหนังสือ คือ ใช้พยัญชนะในภาษาไทยตั้งแต่ ก ถึง ฮ เป็นหลัก โดยตัดออกเป็นบางตัว เหลือเพียง ๓๖ ตัว ตัวที่ออกเสียงเหมือนกันจะตั้งชื่อให้ต่างกัน เช่น ข ง่วยโป๊ ฃ เจี่ยมกวย ค หะตั๋ง ฅ เม่งจู ฆ ยิดซัว ทั้งนี้เพราะได้นำวิธีเล่นหวยของจีนมาปรับปรุงใช้, หวย ก็เรียก.
ว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้อง ว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส.
น. ลักษณะดีเด่นเป็นที่น่าอัศจรรย์ เช่น อัจฉริยลักษณ์ของภาษาไทย อัจฉริยลักษณะของมหาบุรุษ.
(อับพาด) น. คำซํ้า, ในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต หมายเอา การซ้อนหรือซํ้าอักษรลงหน้าศัพท์ เช่น ชวาล (เรือง) เป็น ชัชวาล (รุ่งเรือง), ในภาษาไทยก็ใช้ เช่น ครื้น ครึก ยิ้ม แย้ม ใช้ อัพภาส เป็น คะครื้น คะครึก ยะยิ้ม ยะแย้ม.
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ[Assistive Technology]
ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย[Assistive Technology]
อักษรย่อภาษาไทย[TU Subject Heading]
จารึกภาษาไทย[TU Subject Heading]
ภาษาไทยเหนือ[TU Subject Heading]
ภาษาไทยใต้[TU Subject Heading]
หัวเรื่องภาษาไทย[TU Subject Heading]
ชุดอักขระภาษาไทย (การประมวลผลข้อมูล)[TU Subject Heading]
ภาษาไทย[TU Subject Heading]
ครูภาษาไทย[TU Subject Heading]
ในภาษาไทยแปลว่า อนุสัญญา แต่คำนี้ใช้แทนคำว่า สนธิสัญญา (Treaty) บ่อย ๆ ผู้เขียนหลายท่านเห็นว่า ทั้งสองคำนี้ไม่ค่อยจะมีความหมายแตกต่างกันมากนัก แม้ว่าคำ Convention มักจะใช้กันเป็นประจำ โดยหมายถึงความตกลงที่กระทำกันในการประชุมระหว่างประเทศ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่กระทำกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม ถึง 14 เมษายน ค.ศ. 1961 (The Vienna Convention on Diplomatic Relations)[การทูต]
มุมหนังสือไทย " เป็นโครงการบริจาคหนังสือ ตำราเรียนภาษาไทย รวมทั้งศิลปวัตถุของไทย หรือศูนย์วัฒนธรรมไทยเพื่อการเผยแพร่ภาษาไทยและศิลปวัฒน- ธรรมไทยให้แก่ประเทศเพื่อนบ้านหรือมิตรประเทศ โดยอาจใช้สถานที่ในห้องสมุดสาธารณะ หรือในมหาวิทยาลัยของต่างประเทศ หรือในสถานทูตสถานกงสุลไทยโดยจัดตั้งเป็นมุมเฉพาะสำหรับจัดวางหนังสือไทยให้ ชาวต่างชาติได้อ่านหรือศึกษาภาษาไทย บางแห่งอาจเรียกชื่อว่า Thai Collection ก็ได้ "[การทูต]
โรคอีไตอีไต, โรคแพ้พิษของแคดเมียม มีอาการปวดอย่างรุนแรงทั่วร่างกาย และจะทำให้เสียชีวิตได้เมื่อร่างกายสะสมไว้สูงถึง 50 มิลลิกรัม คำนี้เป็นคำอุทานในภาษาญี่ปุ่น แสดงความเจ็บปวด (ตรงกับโอย โอย ในภาษาไทย)[พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
[cheū phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai name  FR: nom thaï [ m ]
[itthiphon (khøng) phāsā tāngprathēt nai phāsā Thai] (xp) EN: influence of foreign languages on Thai
[kān chai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai language usage
[kān søn phāsā Thai] (n, exp) EN: teaching Thai  FR: enseignement du thaï [ m ]
[khrōngsāng kham nai phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai word structure
[lak phāsā Thai] (n, exp) EN: fundamentals of teh Thai language  FR: bases de la langue thaïe [ fpl ]
[nai phāsā Thai] (n, exp) EN: in Thai  FR: en thaï ; en langue thaïe
[phāsā Thai] (n) EN: Thai language  FR: thaï [ m ] ; langue thaïe [ f ]
[phāsā Thai choēng thurakit] (n, exp) EN: Thai for business  FR: Thaï commercial [ f ] ; Thaï des affaires [ m ]
[phāsā Thai pheūa kān seūsān] (n, exp) EN: Thai language for communication
[phāsā Thai pheūa kān seūsān thurakit] (n, exp) EN: Thai for business communication
[phāsā Thai thin] (n, exp) EN: Thai dialect
[phāsā Thai thin Īsān] (n, exp) EN: Northeastern Thai dialect ; Northeastern dialect ; Isan diailect
[phāsā Thai thin klāng] (n, exp) EN: Central Thai Dialect ; Central dialect
[phāsā Thai thin neūa] (n, exp) EN: Northern Thai dialect ; Northern dialect
[phāsā Thai thin tāi] (n, exp) EN: Southern Thai Dialect ; Southern dialect
[Phrakhamphī phāsā Thai] (n, prop) EN: Thai Bible  FR: Bible en thaï
[phūt phāsāThai] (v, exp) EN: speak Thai  FR: parler le thaï
[rabop sīeng phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai phonology
[tūanangseū phāsā Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ]
[waiyākøn phāsā Thai] (n, exp) EN: Thai grammar  FR: grammaire thaïe [ f ]
Longdo Approved EN-TH
(n)ชื่อของบริการนี้ มาจากภาษาไทยว่า ลองดู มาจากแนวคิดที่ว่า แนวคิดนี้อาจจะดีหรือไม่ดี ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ก็ไม่แน่ ลองดูเลยดีกว่า
(n)คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย)
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
(n)ภาษาไทยSyn.Thai
(n)ภาษาไทย
(adj)เกี่ยวกับคนไทยSee Also:เกี่ยวกับภาษาไทย
Hope Dictionary
<คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น
ใช้การไม่ได้ไร้สมองหมายถึง อะไรก็ตามที่ภายนอกดูดี แต่ข้างในจริง ๆ นั้นแย่มาก ๆ เข้าทำนอง "ข้างนอกสุกใส ข้างในต๊ะติ่งโหน่ง" สำนวนภาษาไทย อีกสำนวนหนึ่งที่มีความหมายคล้ายกันก็คือ "สวยแต่รูป จูบไม่หอม" ถ้าใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ก็หมายถึงเครื่องที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพเหมือนกับที่โฆษณาเอาไว้
แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง
(คลิค) 1. { clicked, clicking, clicks } n. เสียงดังกริ๊ก, กลอนสปริง, ตัวดึง, เสียงกระเดาะลิ้น vi. เสียงดังกริ๊ก, เปล่งเสียงดังกริ๊ก, กระเดาะลิ้นดังกริ๊ก, กระทำสำเร็จ, ประสานกันได้ดี, สอดคล้อง, ได้รับการต้อนรับจากประชาชน vt. ทำให้เกิดเสียงดังกริ๊ก, กระทบดังกริ๊ก 2. กด (เมาส์) การกดนิ้วในจังหวะสั้น ๆ เร็ว ๆ 1 ที ลงบนปุ่มใดปุ่มหนึ่งของของเมาส์ (ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มซ้ายมือสุด) แล้วยกออกในทันที ใช้เมื่อต้องการสั่งการตามรายการในเมนู หรือเลือกรายการที่ต้อง การที่มีแสดงอยู่บนจอภาพ โดยเลื่อนเมาส์ให้ลูกศรชี้อยู่ที่คำสั่งที่ต้องการก่อน จึงค่อยกด (ในภาษาไทยอาจใช้สั้น ๆ ว่า "กดเมาส์ ") ในบางกรณี ต้องกดสองทีเร็ว ๆ เรียกว่า double click ดู double click ประกอบ
วิทยาการคอมพิวเตอร์สาขาวิชาทางคอมพิวเตอร์สาขาหนึ่ง ที่ว่าด้วยการกำหนดรูปแบบ และการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์มาใช้งาน หรือสั่งให้ทำงานให้ตามความประสงค์ เป็นต้นว่า กระบวนการต่าง ๆ ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ (information) ฯ อนึ่ง ศัพท์นี้ในภาษาไทยมีใช้กันอยู่หลายคำ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วิทยาการคอมพิวเตอร์
ชื่อแฟ้ม (ข้อมูล) แฟ้มข้อมูลก็ดี โปรแกรมหรือชุดคำสั่งก็ดี จะต้องมีชื่อที่ ไม่ซ้ำกัน เพื่อให้ผู้ใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ได้เมื่อ ต้องการ เรียกใช้ระบบปฏิบัติการแต่ละระบบ จะมีข้อกำหนด กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลไว้ เป็นต้นว่า ระบบดอสและวินโดว์ มีข้อกำหนดว่า ชื่อของแฟ้ม ข้อมูล จะต้องยาวไม่เกิน 8 ตัวอักขระ (ตัวอักษรหรือตัวเลข) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต้องไม่มีช่องว่าง ฯ และที่สำคัญที่สุด คือตั้งชื่อเป็นภาษาไทยไม่ได้โดยเด็ดขาด นอกจากนั้น อาจจะต้องมีนามสกุล (filetype) ซึ่งต้องประกอบด้วย 3 ตัวอักษร ส่วนระบบของแมคอินทอช มีข้อจำกัดน้อยกว่านั้น มาก เช่น จะใช้ภาษาไทยก็ได้
ตัวเล็กใช้เมื่อพูดถึงแป้นพิมพ์ หมายถึง การพิมพ์ตัวเล็กในความหมายที่ไม่ใช่ capital letter เช่น a b c d .. (ถ้า เป็นตัวใหญ่ ต้องมีลักษณะดังนี้ เช่น A B C D ภาษาไทยไม่มีตัวเล็ก/ตัวใหญ่ lower case จึงหมายถึง อักขระตัวล่าง และ upper case หมายถึงอักขระตัวบนของแป้นพิมพ์ดู upper case เปรียบเทียบ
การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้
(ชาน, แชน) n. ไทยใหญ่, ภาษาไทยใหญ่
(แป้นพิมพ์) แป้นเปลี่ยน (ชุดอักษร) แป้นยกเป็นแป้นหนึ่งที่มีใช้ทั้งในแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด และแป้นพิมพ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (แป้นนี้ มักจะมีเครื่องหมายลูกศรบนแป้น) โดยปกติแผงแป้นอักขระจะมีไว้ให้ 2 แป้น ทั้งทางด้านซ้ายและขวา การกดแป้นนี้เพียงลำพังแป้นเดียว จะไม่ทำให้เกิดอะไรขึ้น แต่ถ้ากดพร้อมกับแป้นตัวอักษรใดในภาษาอังกฤษ จะทำให้พิมพ์ตัวอักษรนั้นออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ถ้าเป็นภาษาไทย ก็จะเป็นตัวที่อยู่ข้างบน เช่น ฤ ฆ ฏ ฑ ฒ นอกจากนั้น ในบางโปรแกรม เช่น โปร แกรมวาดภาพ การกดแป้นนี้พร้อมกับ ลากเส้น จะทำให้ลากได้เป็นเส้นตรง ถ้ากดพร้อมกับลากรูปสี่เหลี่ยม ก็จะทำให้รูปที่วาด เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นต้น
(ไซมะมีซ', -มีส') adj., n. (เกี่ยวกับ) ประเทศไทย, คนไทย, ภาษาไทย, วัฒนธรรมไทย, ฝาแฝด, มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด, เหมือนกัน, แมวไทย
ช่องว่าง (ตัวอักขระ) ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ช่องว่างระหว่างคำที่เกิดจากการกดที่คานเคาะ ในภาษาไทย มีความหมายเหมือน "เว้นวรรค" ช่องว่างนี้ คอมพิวเตอร์จะถือว่าเป็นอักขระตัวหนึ่งเหมือนกัน (เหมือนตัวอักษร A B C D)
อักขระพิเศษแต่เดิมใช้หมายถึงอักขระที่เป็นเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น + - * / $ = , " " ฯลฯ รวมทั้งสระ วรรณยุกต์ ในภาษาไทย บางทีเรียกรวม ๆ ว่า เครื่องหมายวรรคตอนก็ได้ นอกจากนั้น ยังหมายรวมถึงตัวอักขระที่ไม่สามารถกดได้จากแป้นพิมพ์ แต่อาจใช้เทคนิคบางอย่างทำให้พิมพ์ออกมาได้ เช่น ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช การกดแป้น Shift+ALT+K จะได้ภาพลูกแอปเปิลแหว่ง (สัญลักษณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล) ถ้าใช้แบบอักษรชื่อ Symbol
แซพฟ แชนเซอรี <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ที่ใช้ในภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง (ภาษาไทยใช้ไม่ได้) ใช้กับเครื่องแมคอินทอช
Nontri Dictionary
(n)ชาวสยาม, ชาวไทย, ภาษาไทย
(n)ภาษาไทย, คนไทย, ชาวไทย
Longdo Unapproved EN-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n)การหลงพึงพอใจ (แบบทุเรศ) Note: Longdo และ dictionary อื่นมองข้ามรูปแบบการใช้ในหลายคำ อย่างคำนี้ มีรูปแบบเชิงลบ และเป็นลบมาก. ทั้งคำ complacency และ complacent ไม่ตรงกับภาษาไทยที่เราใช้ทั่วไป จึงยากที่จะตั้งคำได้ตรง.
(slang)เป็นคำที่เลียนแบบภาษาไทยให้ดูคล้ายคำว่า "เทพ" เป็นที่นิยมในหมู่เกรียนเพื่อที่จะบ่งบอกความเก่งของตน ซึ่งโดยมากจะตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิงSyn.god
[ไทย](n, vi, vt, aux, verb, adj, adv, conj, pron, phrase, abbrev, uniq)ภาษาไทย
(uniq)ชุดซอฟต์แวร์เพื่อสำนักงาน เรียกทับศัพท์ว่า "โอเพนออฟฟิศ" เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็ม ซึ่งมีความสามารถในการใช้งานภาษาไทย และ สามารถทดแทนชุดซอฟต์แวร์เพือสำนักงานอื่นๆ ได้ เช่นสามารถเปิดไฟล์ที่นามสกุล .doc, .xls ได้
Image:
openoffice.org
(n, name)ผ้าซิ่น เป็นเครื่องแต่งกายของผู้หญิง ผ้าทอเป็นผืนด้วยมือ เป็นผืนยาวประมาณ 2 เมตร ใช้นุ่งโดยการพันรอบตัวตั้งแต่เอวลงไป อาจตัดและเย็บก็ได้ มีใช้ในประเทศไทย ลาว พม่า มีลวดลายต่าง ๆ กัน ภาษาไทยเรียก ผ้าถุง หรือผ้านุ่ง ก็ได้
[อังกฤษ](colloq)ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
Longdo Unapproved JP-TH**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
タイ語
[たいご, taigo](n)ภาษาไทย
補数
[ほすう, hosuu]ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655
三昧
[さんまい, sanmai](n)สมาธิ (คำว่า สัมไม เป็นคำศัพท์ทางศาสนาที่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลีสันสกฤตของอินเดียอย่างเดียวกับที่ภาษาไทยใช้ ที่อินเดียจะออกเสียงว่า สะ-มา-ดิ๊)
Longdo Approved DE-TH
(n)|das| ชั้นล่างสุด (ไม่ใช่ชั้นใต้ดิน) ซึ่งเท่ากับชั้นที่หนึ่งในภาษาไทย
(n, uniq)|das| ภาษาไทย
Longdo Approved FR-TH
เป็นคำทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันดีแล้ว หรือในหมู่เพื่อน คล้าย หวัดดี (สวัสดี)ในภาษาไทย
เพิ่มคำศัพท์
add
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ