ว. สารพัด, ไม่เลือกว่าอะไร, ทุกสิ่งทุกอย่าง.
(ติด-) น. ดิตถ์, ท่านํ้า.
ว. จิปาถะ, สารพัด, ไม่เลือกว่าอะไร.
(ตีระ-) ติตถ์, ดิตถ์, ท่านํ้า.
ว. หยาบช้า เช่น คำถะถุนถะถัน ว่า คำหยาบช้า.
ว. ทะมัดทะแมง, ขึงขัง, เอาจริงเอาจัง.
ว. ลักษณะเนื้อที่ไม่กระชับของคนอ้วน เช่น คุณลุงอ้วนขี้ร้อน ไม่ชอบใส่เสื้อ เห็นแต่เนื้อเถะ ๆ.
(ปัดถะ) น. ชื่อมาตราตวงในภาษาบาลี แปลว่า แล่ง, กอบ, คือ ๒ ปัตถะ เป็น ๑ นาฬี (ทะนาน).
(วะรูถะ) น. การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก
น. ความบวม, ความพอง, โศผะ ก็ว่า.
(สะมะถะ-) น. การทำใจให้สงบโดยเพ่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอารมณ์.
(สะมะถะ-) ว. มักน้อย เช่น คนสมถะมีความเป็นอยู่เรียบง่าย.
(สารัดถะ-) น. เนื้อหาหลัก, ใจความสำคัญ, ความคิดสำคัญของเรื่อง.
น. ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว
น. เนื้อความ, ประโยชน์, ความต้องการ.
(กะนิดถะ-, กะนิด) ว. “น้อยที่สุด”, (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว.
(กันตะกะ, กันถะกะ) น. หนาม.
(กันถะกะ) น. เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ- ฐกก่องคือแสงสรวล (สมุทรโฆษ).
(-ถะเหฺลิง) น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Anaxagorea luzonensisA. Gray ในวงศ์ Annonaceae ใบเดี่ยว ออกสลับกัน ดอกสีขาวกลิ่นหอม, โคเถลิง ก็เรียก.
(-ถะแหฺลง) น. คำชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
(-ถะเหฺลิง) น. ชื่อวัวป่าชนิดหนึ่ง.
(-ถะเหฺลิง) ดู กำลังวัวเถลิง.
(จะตุดถะ-, -ตุดถี) ว. ที่ ๔ เช่น จตุตถจุลจอมเกล้า จตุตถสุรทิน จตุตถีดิถี.
(จะตุระถะ-) ว. ที่ ๔ เช่น จตุรถาภรณ์.
(เชดถะ-) ว. เจริญที่สุด, เจริญกว่า, อายุสูงสุด, อายุสูงกว่า. น. พี่ผู้เป็นใหญ่ เช่น เชษฐบุรุษ. (ป. เชฏฺ; ส. เชฺยษฺ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระเชษฐภคินี หมายถึง พี่สาว, ถ้าใช้ว่า พระเชษฐภาดา หรือ พระเชษฐา หมายถึง พี่ชาย.
(เชดถะ-) น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๘ มี ๑๔ ดวง เห็นเป็นรูปงาช้างหรือคอนาค เช่น อัษฐรัศนักษัตรสมบุรณยล บัญญัติเชษฐดารา (สรรพสิทธิ์), ดาวเชษฐา ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ ก็เรียก.
(เชดถะ-) น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์เชษฐะ คือ เดือน ๗ ตามจันทรคติ ตกในราวเดือนมิถุนายน.
(ถะกัด) ก. ตระกัด, ยินดี, เช่น ฐกัดนี้แก่เถ้าตุ่ยต่วมฤๅจตรู (ม. คำหลวง ชูชก).
(ถะกน) ก. ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งขึ้น, ตั้งไว้, เช่น ปางถกลกำแพงพระ พิศณุโลกย แล้วแฮ (ยวนพ่าย)
(ถะหฺงาด) ก. ทำท่าเผ่น, เยื้องท่า, ชะโงก, เงื้อม, ผ่านไป.
(ถะหฺนน) น. ทางที่ทำขึ้น, ลักษณนามว่า สาย, เส้น, สนน ก็ว่า, โบราณเขียนเป็น ถนล. (จารึกวัดป่ามะม่วง).
(ถะหฺนบ) น. เด็ก, เด็กกินนม.
(ถะหฺนอม) ก. คอยระวังประคับประคองไว้ให้ดี เช่น ถนอมนํ้าใจ, ใช้อย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เสียหรือหมดเร็ว เช่น ถนอมของกินของใช้ ถนอมแรง, เก็บไว้อย่างดี เช่น ถนอมเอาไว้ก่อน, สนอม ก็ว่า.